พบผลลัพธ์ทั้งหมด 27 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 427/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจสอบสวนคดีภาษีอากรของตำรวจ: ต้องมีคำขอจากเจ้าพนักงานสรรพากรเท่านั้น
เจ้าพนักงานตำรวจจะดำเนินคดีอาญาเกี่ยวกับภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรได้ก็ต่อเมื่อเจ้าพนักงานตามประมวลรัษฎากรซึ่งมีเฉพาะแต่ข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมสรรพากร ร้องขอเท่านั้น หาได้มีข้อยกเว้นให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจจับได้โดยไม่ต้องมีหมายจับในกรณีความผิดซึ่งหน้าแต่อย่างใดไม่ ฉะนั้น เมื่อข้อเท็จจริงในคดีนี้ฟังได้เป็นยุติว่าเจ้าพนักงานตามประมวลรัษฎากรมิได้มีคำขอให้ดำเนินคดีแต่อย่างใดเจ้าพนักงานตำรวจซึ่งเป็นพนักงานสอบสวนย่อมไม่มีอำนาจสอบสวนดำเนินคดีการสอบสวนที่ได้กระทำไปจึงไม่ชอบพนักงานอัยการจึงไม่มีอำนาจฟ้องคดีนี้ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2/2525)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 383/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิครอบครองสาธารณสมบัติของแผ่นดิน การบุกรุกต้องกระทบสิทธิครอบครองของผู้อื่น
กรณีจะเป็นความผิดฐานบุกรุกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา362,365 ได้ต้องเป็นเรื่องกระทำต่อสิทธิครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่น
ที่พิพาทเป็นหนองน้ำสาธารณะอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1304 กรมประมงได้ประกาศให้เป็นที่จับสัตว์น้ำประเภทที่อนุญาตตามพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.2490 มาตรา 7และอนุญาตให้โจทก์ทำการประมงและเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำได้ดังนี้ โจทก์คงมีแต่เพียงสิทธิตามที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น หามีสิทธิครอบครองหนองน้ำพิพาทไม่ การที่จำเลยเข้าไปปลูกบัวในหนองดังกล่าวจึงไม่ทำให้โจทก์เป็นผู้เสียหายในความผิดฐานบุกรุกแต่อย่างใด
ที่พิพาทเป็นหนองน้ำสาธารณะอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1304 กรมประมงได้ประกาศให้เป็นที่จับสัตว์น้ำประเภทที่อนุญาตตามพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.2490 มาตรา 7และอนุญาตให้โจทก์ทำการประมงและเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำได้ดังนี้ โจทก์คงมีแต่เพียงสิทธิตามที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น หามีสิทธิครอบครองหนองน้ำพิพาทไม่ การที่จำเลยเข้าไปปลูกบัวในหนองดังกล่าวจึงไม่ทำให้โจทก์เป็นผู้เสียหายในความผิดฐานบุกรุกแต่อย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1945/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีกรรโชก: ผู้เสียหายคือผู้ถูกข่มขู่ให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลที่สามหรือทรัพย์สิน
จำเลยได้ข่มขู่โจทก์ว่าจะเปิดเผยความลับทางการค้าต่อพ่อค้าและท้องตลาดกับเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการหลบเลี่ยงภาษีของห้างหุ้นส่วน อันจะทำให้ห้างดังกล่าวซึ่งมีโจทก์เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการได้รับความเสียหายจนโจทก์ยอมจะให้เงินแก่จำเลยตามที่ขู่เข็ญนั้น จึงถือว่าโจทก์เป็นผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(4) แล้ว โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 337, 338 ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 28
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1945/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีกรรโชก: ผู้เสียหายคือผู้ถูกข่มขู่ให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลที่สาม
จำเลยได้ข่มขู่โจทก์ว่าจะเปิดเผยความลับทางการค้าต่อพ่อค้าและท้องตลาดกับเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการหลบเลี่ยงภาษีของห้างหุ้นส่วนอันจะทำให้ห้างดังกล่าวซึ่งมีโจทก์เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการได้รับความเสียหายจนโจทก์ยอมจะให้เงินแก่จำเลยตามที่ขู่เข็ญนั้น จึงถือว่าโจทก์เป็นผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(4) แล้วโจทก์จึงมีอำนาจฟ้องขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 337, 338 ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 28
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1298/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีเช็ค: การแจ้งความไม่ระบุชื่อจำเลยร่วมกระทำความผิด ทำให้ขาดอายุความฟ้อง
คำร้องทุกข์ของผู้เสียหายไม่ได้ระบุชื่อจำเลยเป็นผู้ร่วมกระทำความผิดจึงไม่เป็นคำร้องทุกข์ที่ผู้เสียหายประสงค์จะให้จำเลยรับโทษตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2 (7), 123
ความผิดอันยอมความได้ เมื่อผู้เสียหายไม่ร้องทุกข์กล่าวโทษจำเลยภายในสามเดือนนับแต่วันที่รู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระทำความผิด คดีเป็นอันขาดอายุความ สิทธินำคดีมาฟ้องร้องย่อมระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39 (6)
ความผิดอันยอมความได้ เมื่อผู้เสียหายไม่ร้องทุกข์กล่าวโทษจำเลยภายในสามเดือนนับแต่วันที่รู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระทำความผิด คดีเป็นอันขาดอายุความ สิทธินำคดีมาฟ้องร้องย่อมระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39 (6)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1298/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องอาญา: การแจ้งความไม่ระบุชื่อจำเลยร่วมกระทำความผิด ทำให้ขาดอายุความฟ้อง
คำร้องทุกข์ของผู้เสียหายไม่ได้ระบุชื่อจำเลยเป็นผู้ร่วมกระทำความผิดจึงไม่เป็นคำร้องทุกข์ที่ผู้เสียหายประสงค์จะให้จำเลยรับโทษตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(7),123
ความผิดอันยอมความได้ เมื่อผู้เสียหายไม่ร้องทุกข์กล่าวโทษจำเลยภายในสามเดือนนับแต่วันที่รู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระทำความผิดคดีเป็นอันขาดอายุความ สิทธินำคดีมาฟ้องร้องย่อมระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39(6)
ความผิดอันยอมความได้ เมื่อผู้เสียหายไม่ร้องทุกข์กล่าวโทษจำเลยภายในสามเดือนนับแต่วันที่รู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระทำความผิดคดีเป็นอันขาดอายุความ สิทธินำคดีมาฟ้องร้องย่อมระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39(6)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1601/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับกุมและการพิสูจน์ข้อเท็จจริง: เหตุอันควรเชื่อและขอบเขตการวินิจฉัยของศาล
ศาลชั้นต้นฟังว่า "ฯลฯ ขณะจับก็ยังพบ (โจทก์) คาดเข็มขัดตำรวจและมีนาฬิกาข้อมือที่ตามวิทยุว่าถูกลักมาอยู่ด้วย ดังนี้ โจทก์ย่อมจะต้องถูกจับอยู่เองเป็นธรรมดา" ดังนี้ แม้นาฬิกาที่จับได้จากโจทก์เป็นยี่ห้อวิลน่าส่วนตามวิทยุสั่งจับนั้นเป็นยี่ห้อฮอนซ่าก็ตามก็เป็นเรื่องที่ศาลชั้นต้นเพียงแต่ฟังว่า จำเลยพบโจทก์มีนาฬิกาข้อมือตรงกับที่วิทยุว่านาฬิกาข้อมือเป็นของที่ถูกลัก อันเป็นข้อสังเกตเบื้องต้นประกอบข้อพิรุธอื่นๆ ของโจทก์ ซึ่งเป็นเหตุให้จำเลยเชื่อว่าโจทก์เป็นพลตำรวจสำเริงซึ่งต้องหาว่าลักนาฬิกาข้อมือเท่านั้น ศาลชั้นต้นมิได้ฟังเลยไปถึงว่านาฬิกาที่โจทก์ใส่อยู่นั้นเป็นของร้าน อันเป็นของกลางที่จับได้จากโจทก์อย่างใดหาเป็นการฟังข้อเท็จจริงนอกสำนวนไม่
จำเลยเข้าใจว่า คำสั่งของร้อยตำรวจเอกสุรพลผู้ทำการแทนผู้กำกับที่สั่งให้จำเลยไปจับกุมโจทก์นั้นเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย แม้วิทยุสั่งจับมิได้มีข้อความแสดงว่าได้ออกหมายจับแล้ว กรณีก็ต้องด้วยประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 70 จำเลยไม่ต้องรับโทษ(อ้างฎีกาที่ 1135/2508)
ศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงว่า "ฯลฯ ในเรื่องสาเหตุจำเลยที่ 2 ก็สามารถนำนางสาวน้อยหรือแมวมาเบิกความแสดงความบริสุทธิ์ได้อีกว่า แท้จริงจำเลยกับนางสาวน้อยหรือแมวไม่ได้เคยรู้จักกันเลย ฯลฯ" ดังนี้ เมื่อนางสาวน้อยหรือแมวซึ่งจำเลยนำสืบเบิกความว่าไม่เคยรู้จักจำเลยที่ 2 มาก่อน คดีจึงมีคำพยานสนับสนุนให้ศาลชั้นต้นฟังว่านางสาวแมวไม่รู้จักจำเลยที่ 2 มาก่อน ไม่เป็นการฟังข้อเท็จจริงนอกสำนวน
จำเลยเข้าใจว่า คำสั่งของร้อยตำรวจเอกสุรพลผู้ทำการแทนผู้กำกับที่สั่งให้จำเลยไปจับกุมโจทก์นั้นเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย แม้วิทยุสั่งจับมิได้มีข้อความแสดงว่าได้ออกหมายจับแล้ว กรณีก็ต้องด้วยประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 70 จำเลยไม่ต้องรับโทษ(อ้างฎีกาที่ 1135/2508)
ศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงว่า "ฯลฯ ในเรื่องสาเหตุจำเลยที่ 2 ก็สามารถนำนางสาวน้อยหรือแมวมาเบิกความแสดงความบริสุทธิ์ได้อีกว่า แท้จริงจำเลยกับนางสาวน้อยหรือแมวไม่ได้เคยรู้จักกันเลย ฯลฯ" ดังนี้ เมื่อนางสาวน้อยหรือแมวซึ่งจำเลยนำสืบเบิกความว่าไม่เคยรู้จักจำเลยที่ 2 มาก่อน คดีจึงมีคำพยานสนับสนุนให้ศาลชั้นต้นฟังว่านางสาวแมวไม่รู้จักจำเลยที่ 2 มาก่อน ไม่เป็นการฟังข้อเท็จจริงนอกสำนวน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1601/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับกุมและการพิสูจน์ข้อเท็จจริง: ศาลยืนตามคำพิพากษาเดิมเมื่อไม่มีการฟังข้อเท็จจริงนอกสำนวน
ศาลชั้นต้นฟังว่า "ฯลฯ ขณะจับก็ยังพบ(โจทก์)คาดเข็มขัดตำรวจและมีนาฬิกาข้อมือที่ตามวิทยุว่าถูกลักมาอยู่ด้วยดังนี้ โจทก์ย่อมจะต้องถูกจับอยู่เองเป็นธรรมดา" ดังนี้ แม้นาฬิกาที่จับได้จากโจทก์เป็นยี่ห้อวิลน่า ส่วนตามวิทยุสั่งจับนั้นเป็นยี่ห้อฮอนซ่าก็ตาม ก็เป็นเรื่องที่ศาลชั้นต้นเพียงแต่ฟังว่า จำเลยพบโจทก์มีนาฬิกาข้อมือตรงกับที่วิทยุว่านาฬิกาข้อมือเป็นของที่ถูกลัก อันเป็นข้อสังเกตเบื้องต้นประกอบข้อพิรุธอื่น ๆ ของโจทก์ ซึ่งเป็นเหตุให้จำเลยเชื่อว่าโจทก์เป็นพลตำรวจสำเริงซึ่งต้องหาว่าลักนาฬิกาข้อมือเท่านั้น ศาลชั้นต้นมิได้ฟังเลยไปถึงว่านาฬิกาที่โจทก์ใส่อยู่นั้นเป็นของร้าย อันเป็นของกลางที่จับได้จากโจทก์อย่างใด หาเป็นการฟังข้อเท็จจริงนอกสำนวนไม่
จำเลยเข้าใจว่า คำสั่งของร้อยตำรวจเอกสุรพลผู้ทำการแทนผู้กำกับที่สั่งให้จำเลยไปจับกุมโจทก์นั้นเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย แม้วิทยุสั่งจับมิได้มีข้อความแสดงว่าได้ออกหมายจับแล้ว กรณีก็ต้องด้วยประมวลกฎหมายอาญามาตรา 70 จำเลยไม่ต้องรับโทษ(อ้างฎีกาที่ 1135/2508)
ศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงว่า " ฯลฯ ในเรื่องสาเหตุจำเลยที่ 2 ก็สามารถนำนางสาวน้อยหรือแมวมาเบิกความแสดงความบริสุทธิ์ได้อีกว่า แท้จริงจำเลยกับนางสาวน้อยหรือแมวไม่ได้เคยรู้จักกันเลย ฯลฯ " ดังนี้ เมื่อนางสาวน้อยหรือแมวซึ่งจำเลยนำสืบเบิกความว่าไม่เคยรู้จักจำเลยที่ 2 มาก่อน คดีจึงมีคำพยานสนับสนุนให้ศาลชั้นต้นฟังว่านางสาวแมวไม่รู้จักจำเลยที่ 2 มาก่อนไม่เป็นการฟังข้อเท็จจริงนอกสำนวน
จำเลยเข้าใจว่า คำสั่งของร้อยตำรวจเอกสุรพลผู้ทำการแทนผู้กำกับที่สั่งให้จำเลยไปจับกุมโจทก์นั้นเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย แม้วิทยุสั่งจับมิได้มีข้อความแสดงว่าได้ออกหมายจับแล้ว กรณีก็ต้องด้วยประมวลกฎหมายอาญามาตรา 70 จำเลยไม่ต้องรับโทษ(อ้างฎีกาที่ 1135/2508)
ศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงว่า " ฯลฯ ในเรื่องสาเหตุจำเลยที่ 2 ก็สามารถนำนางสาวน้อยหรือแมวมาเบิกความแสดงความบริสุทธิ์ได้อีกว่า แท้จริงจำเลยกับนางสาวน้อยหรือแมวไม่ได้เคยรู้จักกันเลย ฯลฯ " ดังนี้ เมื่อนางสาวน้อยหรือแมวซึ่งจำเลยนำสืบเบิกความว่าไม่เคยรู้จักจำเลยที่ 2 มาก่อน คดีจึงมีคำพยานสนับสนุนให้ศาลชั้นต้นฟังว่านางสาวแมวไม่รู้จักจำเลยที่ 2 มาก่อนไม่เป็นการฟังข้อเท็จจริงนอกสำนวน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 204/2505 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผู้เสียหายในคดีปลอมแปลงเอกสาร การฟ้องดำเนินคดีอาญาต้องมีผู้เสียหายโดยตรง
โจทก์ได้ทำสัญญาซื้อที่ดินกับผู้มีชื่อคนหนึ่งและให้มัดจำไว้แล้ว ต่อมาจำเลยได้ทำสัญญาขึ้นฉบับหนึ่งแบบเดียวกับที่โจทก์ทำ อันเป็นความเท็จว่า จำเลยเป็นผู้ซื้อที่ดินดังกล่าวแล้วนำไปแสดงเพื่อขอกู้เงินกับผู้มีชื่ออีกคนหนึ่งเช่นนี้ เรียกว่า โจทก์มิได้รับความเสียหายฉะนั้น จึงไม่มีอำนาจดำเนินคดีอาญากับจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 863/2497
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำด่า 'ไอ้เหี้ยไอ้สัตว์เดียรัจฉาน' ไม่ถึงขั้นหมิ่นประมาทหรือลามกอนาจาร
โจทก์จำเลยต่างเกิดทะเลาะด่าว่ากันโจทก์จะมาฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 339 ไม่ได้
กล่าวคำว่า 'ไอ้เหี้ยไอ้สัตว์เดียรัจฉาน' ไม่ใช่คำลามกอนาจารและไม่เป็นการหมิ่นประมาทตามมาตรา 282 ด้วย
กล่าวคำว่า 'ไอ้เหี้ยไอ้สัตว์เดียรัจฉาน' ไม่ใช่คำลามกอนาจารและไม่เป็นการหมิ่นประมาทตามมาตรา 282 ด้วย