พบผลลัพธ์ทั้งหมด 13 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1625/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับคดีค่าปรับ: เปลี่ยนจากจำคุกแทนค่าปรับตามกฎหมายลักษณะอาญาเป็นกักขังแทนค่าปรับตามประมวลกฎหมายอาญา
ในกรณีที่การจำคุกแทนค่าปรับตาม ก.ม.ลักษณะอาญา ม.18 ในหมายจำคุกยังไม่ถึงเวลาคุมขัง เพราะโทษจำคุกยังมีอยู่จนกระทั่งถึงวันใช้ประมวลกฎหมายอาญาเช่นนี้ ต้องนำประมวลกฎหมายอาญา ม.30 มาใช้บังคับตาม พ.ร.บ. ให้ใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 ม. 6 คือต้องออกหมายกักขังแทนค่าปรับใหม่เป็นอัตราวันละ 5 บาท.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1625/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับคดีค่าปรับ: เปลี่ยนวิธีจากจำคุกแทนค่าปรับตามกฎหมายลักษณะอาญา เป็นกักขังแทนค่าปรับตามประมวลกฎหมายอาญา
ในกรณีที่การจำคุกแทนค่าปรับตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 18 ในหมายจำคุกยังไม่ถึงเวลาคุมขัง เพราะโทษจำคุกยังมีอยู่จนกระทั่งถึงวันใช้ประมวลกฎหมายอาญา เช่นนี้ ต้องนำประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 30 มาใช้บังคับตาม พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2499 มาตรา 6 คือต้องออกหมายกักขังแทนค่าปรับใหม่เป็นอัตราวันละ 5 บาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1730/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานใช้เครื่องมือประมงโดยไม่ได้รับอนุญาตและค่าบำเหน็จนำจับ
จำเลยในคดีใช้เครื่องมือทำการประมงโดยไม่มีอาชญาบัตรต้องรับผิดชอบในค่าปรับและเงินบำเหน็จนำจับร่วมกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1262/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับชดใช้ค่าเสียหายในคดีลักทรัพย์: การจัดการเมื่อจำเลยไม่สามารถชดใช้
มาตรา 18 กฎหมายลักษณะอาญา นั้นจะมาใช้กับกรณีที่ศาลพิพากษา ให้จำเลยซึ่งทำการลักทรัพย์ คืน หรือใช้ราคาทรัพย์แก่เจ้าทรัพย์ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1262/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจัดการทรัพย์สินในคดีลักทรัพย์: การคืนทรัพย์/ใช้ราคา และสิทธิเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา
มาตรา 18 ก.ม.ลักษณะอาญานั้นจะมาใช้กับกรณีที่ศาลพิพากษา ให้จำเลยซึ่งทำการลักทรัพย์ คืน หรือใช้ราคาทรัพย์แก่เจ้าทรัพย์ไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 742/2491
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบของกลางที่ไม่อยู่ในความครอบครอง การตีราคาและบังคับคดีตามกฎหมายอาญา
จำเลยลักลอบนำข้าวสารเหนียวออกไปนอกราชอาณาจักรแล้ว เมื่อศาลสั่งริบข้าวสารเหนียวของกลางดั่งนี้ ต้องตีราคาข้าวสารเหนียว แล้วจัดการตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 18,29
มาตรา 29ได้กล่าวถึงการไม่นำทรัพย์ที่จะต้องริบมาส่งต่อศาลแสดงอยู่ว่าทรัพย์ที่จะริบได้นั้น ไม่จำต้องเป็นทรัพย์ที่จับมาหรือยึดมาได้เท่านั้น
มาตรา 29ได้กล่าวถึงการไม่นำทรัพย์ที่จะต้องริบมาส่งต่อศาลแสดงอยู่ว่าทรัพย์ที่จะริบได้นั้น ไม่จำต้องเป็นทรัพย์ที่จับมาหรือยึดมาได้เท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 137/2490 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานมีฝิ่นและมูลฝิ่นเป็นความผิดกะทงเดียว พิจารณาจากวัตถุที่ต้องห้ามเป็นประเภทเดียวกัน
ความผิดฐานมีฝิ่นและมูลฝิ่นเป็นความผิดลักษณะเดียวกันฉะนั้นการมีฝิ่นและมูลฝิ่นในขณะเดียวกันจึงเป็นความผิดกะทงเดียว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 137/2490
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานมีฝิ่นและมูลฝิ่นเป็นความผิดกระทงเดียว การลงโทษพิจารณาจากปริมาณวัตถุ
ความผิดฐานมีฝิ่นและมูลฝิ่น เป็นความผิดลักษณะเดียวกันฉะนั้นการมีฝิ่นและมูลฝิ่นในขณะเดียวกันจึงเป็นความผิดกระทงเดียว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 334/2488
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชักลากไม้โดยได้รับอนุญาตทางวาจาและการกระทำโดยสุจริต ไม่เป็นความผิดอาญา
จำเลยเป็นผู้ได้รับอนุญาตให้ทำไม้ได้ จำเลยได้ทำการชักลากไม้มาก่อนที่เจ้าพนักงานป่าไม้ได้ตีตราอนุญาต โดยจำเลยได้รับคำสั่งอนุญาตด้วยวาจาจากเจ้าพนักงานให้ชักลากไม้มาก่อนแล้วจะตีตราให้ภายหลังซึ่งเป็นวิธีการที่เคยปฏิบัติกันมา ถือว่าจำเลยได้กระทำการไปโดยสุจริต ไม่เป็นบังอาจหรือเจตนาที่จะกระทำความผิดทางอาญา จำเลยจึงไม่ควรรับอาญา ไม้ของกลางไม่ริบ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 677/2487
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษตาม พ.ร.บ.ทะเบียนพาณิชย์ ศาลมีอำนาจกำหนดค่าปรับได้ตามความเหมาะสม แม้จะต่ำกว่าขั้นต่ำ
การที่โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์นั้น ศาลจะลงโทษรวมกันก็ได้และจะกำหนดค่าปรับเท่าไรก็ได้เมื่อไม่เกินขั้นสูงที่กฎหมายกำหนดไว้
กรณีที่กฎหมายกำหนดให้ปรับไม่เกินวันละ 20 บาท นั้นศาลจะปรับต่ำกว่า 1 บาทก็ได้
กรณีที่กฎหมายกำหนดให้ปรับไม่เกินวันละ 20 บาท นั้นศาลจะปรับต่ำกว่า 1 บาทก็ได้