พบผลลัพธ์ทั้งหมด 56 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5246/2543
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กลฉ้อฉลในการซื้อขายที่ดิน, ค่าสินไหมทดแทน, อายุความ 10 ปี
จำเลยให้คำรับรองว่าที่ดินพิพาทที่จะขายให้แก่โจทก์ติดกับทางสาธารณะ แต่ปรากฏว่าที่ดินพิพาทไม่ติดทางสาธารณะตามที่จำเลยให้คำรับรอง เมื่อโจทก์มีเจตนาซื้อที่ดินของจำเลยเพื่อเป็นทางออกสู่ทางสาธารณะ และได้ซื้อ ที่ดินพิพาทจากจำเลยในราคาที่แพงกว่าปกติของที่ดินในบริเวณเดียวกับที่ไม่ติดทางสาธารณะ ถือว่าจำเลยขายที่ดินแก่โจทก์โดยทำกลฉ้อฉล เป็นเหตุให้โจทก์ต้องชำระราคาสูงขึ้นกว่าราคาซื้อขายปกติ แต่โจทก์ซื้อที่ดินพิพาทเพราะติดกับที่ดินแปลงอื่นของโจทก์ด้วย จึงเป็นกลฉ้อฉลแต่เพียงเหตุจูงใจให้คู่กรณีฝ่ายหนึ่งยอมรับข้อกำหนดอันหนักยิ่งกว่าที่เขาจะยอมรับโดยปกติ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 161
โจทก์ฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนตามมาตรา 161 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งมิได้บัญญัติเรื่องอายุความไว้ จึงต้องถือหลักทั่วไปตามมาตรา 193/30 ซึ่งมีกำหนด 10 ปี
โจทก์ฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนตามมาตรา 161 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งมิได้บัญญัติเรื่องอายุความไว้ จึงต้องถือหลักทั่วไปตามมาตรา 193/30 ซึ่งมีกำหนด 10 ปี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1688/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความในวันหยุดราชการและการยอมรับวิธีการชำระหนี้
วันสุดท้ายที่จะต้องปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความโอนที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างนั้นตรงกับวันเสาร์และวันถัดมาเป็นวันอาทิตย์อันเป็นวันหยุดราชการตามปกติทั้งสองวันจำเลยจึงขอปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความต่อโจทก์ในวันแรกที่ทางราชการเปิดทำการได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4078/2534 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดจากเรือชนสะพาน: การประมาทเลินเล่อของผู้ควบคุมเรือ และอายุความ
จำเลยที่ 1 มีหน้าที่ควบคุมดูแลเรือ ว.ทองทะเล 4 ที่เกิดเหตุของจำเลยที่ 4จำเลยที่ 4 เป็นผู้เช่าบ้านให้จำเลยที่ 1 พักรวมกับคนงานอื่น ๆ จัดรถยนต์รับส่งระหว่างบ้านพักกับสะพานที่เกิดเหตุที่ถูกเรือดังกล่าวชนเพื่อให้จำเลยที่ 1 กับคนงานอื่น ๆ ลงเรือดังกล่าวไปทำงานกู้ตัดเหล็กซากเรือใหญ่ที่อับปางซึ่งเป็นกิจการของจำเลยที่ 4 ทุกวัน และเป็นผู้เปิดบัญชีธนาคารให้จำเลยที่ 1 เบิกเป็นค่าใช้จ่ายในการทำงานดังกล่าว ทั้งภริยาจำเลยที่ 1 ได้รับมอบหมายจากจำเลยที่ 4 ให้เป็นผู้ควบคุมการเบิกจ่ายค่าแรง และจัดการเรื่องอาหารทุกมื้อให้แก่คนงานทั้งหมดของจำเลยที่ 4 และได้ร่วมกับจำเลยที่ 1 ไปติดต่อขอรับเรือของจำเลยที่ 4 คืนจากเจ้าพนักงานตำรวจหลังเกิดเหตุจำเลยที่ 1 ยังได้ใช้เรือของจำเลยที่ 4 ที่ตนควบคุมอยู่ทำการช่วยเหลือกู้เรือชาวประมงตามพฤติการณ์เช่นนี้ถือได้ว่า จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างควบคุมเรือ ว.ทองทะเล 4 กระทำกิจการในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 4
ขณะเกิดเหตุเป็นฤดูมรสุม จำเลยที่ 1 มีอาชีพกู้เรือมานาน 20 ปี ย่อมรู้ดีว่าการจอดเรือ ว.ทองทะเล 4 ในบริเวณที่ไม่มีที่กำบังลมเพื่อกู้ตัดเหล็กซากเรือใหญ่ที่อัปปางอาจถูกลมพายุพัดหลุดลอยได้ง่าย การจัดการป้องกันด้วยการนำเรือไปหลบหาที่กำบังพายุก็สามารถกระทำได้ทันเพราะมีประกาศเตือนทางวิทยุให้รู้ว่าจะเกิดพายุล่วงหน้าติด ๆ กันทุกชั่วโมงตั้งแต่หัวค่ำของคืนก่อนวันเกิดเหตุ เมื่อจำเลยที่ 1 อาจป้องกันไม่ให้เรือถูกพายุได้แต่ไม่จัดการป้องกัน เป็นเหตุให้เรือ ว.ทองทะเล 4 ถูกพายุพัดหลุดลอยไปชนสะพานของโจทก์ จึงเกิดจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของจำเลยที่ 1 ไม่ใช่เหตุสุดวิสัย
อายุความเป็นระยะเวลาอย่างหนึ่ง เมื่อวันสุดท้ายแห่งอายุความคือวันที่ 23ตุลาคม 2522 เป็นวันหยุดก็ต้องนับวันที่เริ่มทำงานใหม่เข้าด้วย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 161 โจทก์ฟ้องคดีเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2522 จึงไม่ขาดอายุความ
ขณะเกิดเหตุเป็นฤดูมรสุม จำเลยที่ 1 มีอาชีพกู้เรือมานาน 20 ปี ย่อมรู้ดีว่าการจอดเรือ ว.ทองทะเล 4 ในบริเวณที่ไม่มีที่กำบังลมเพื่อกู้ตัดเหล็กซากเรือใหญ่ที่อัปปางอาจถูกลมพายุพัดหลุดลอยได้ง่าย การจัดการป้องกันด้วยการนำเรือไปหลบหาที่กำบังพายุก็สามารถกระทำได้ทันเพราะมีประกาศเตือนทางวิทยุให้รู้ว่าจะเกิดพายุล่วงหน้าติด ๆ กันทุกชั่วโมงตั้งแต่หัวค่ำของคืนก่อนวันเกิดเหตุ เมื่อจำเลยที่ 1 อาจป้องกันไม่ให้เรือถูกพายุได้แต่ไม่จัดการป้องกัน เป็นเหตุให้เรือ ว.ทองทะเล 4 ถูกพายุพัดหลุดลอยไปชนสะพานของโจทก์ จึงเกิดจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของจำเลยที่ 1 ไม่ใช่เหตุสุดวิสัย
อายุความเป็นระยะเวลาอย่างหนึ่ง เมื่อวันสุดท้ายแห่งอายุความคือวันที่ 23ตุลาคม 2522 เป็นวันหยุดก็ต้องนับวันที่เริ่มทำงานใหม่เข้าด้วย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 161 โจทก์ฟ้องคดีเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2522 จึงไม่ขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4078/2534
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดทางละเมิดจากความประมาทเลินเล่อของลูกจ้างในการควบคุมเรือ กู้เรือ และอายุความ
จำเลยที่ 1 มีหน้าที่ควบคุมดูแลเรือ ว. ทองทะเล 4 ที่เกิดเหตุของจำเลยที่ 4 จำเลยที่ 4 เป็นผู้เช่าบ้านให้จำเลยที่ 1พักรวมกับคนงานอื่น ๆ จัดรถยนต์รับส่งระหว่างบ้านพักกับสะพานที่เกิดเหตุที่ถูกเรือดังกล่าวชนเพื่อให้จำเลยที่ 1 กับคนงานอื่น ๆลงเรือดังกล่าวไปทำงานกู้ตัดเหล็กซากเรือใหญ่ที่อับปางซึ่งเป็นกิจการของจำเลยที่ 4 ทุกวัน และเป็นผู้เปิดบัญชีธนาคารให้จำเลยที่ 1 เบิกเป็นค่าใช้จ่ายในการทำงานดังกล่าว ทั้งภริยาจำเลยที่ 1ได้รับมอบหมายจากจำเลยที่ 4 ให้เป็นผู้ควบคุมการเบิกจ่ายค่าแรงและจัดการเรื่องอาหารทุกมื้อให้แก่คนงานทั้งหมดของจำเลยที่ 4 และได้ร่วมกับจำเลยที่ 1 ไปติดต่อขอรับเรือของจำเลยที่ 4 คืนจากเจ้าพนักงานตำรวจหลังเกิดเหตุจำเลยที่ 1 ยังได้ใช้เรือของจำเลยที่ 4 ที่ตนควบคุมอยู่ทำการช่วยเหลือกู้เรือชาวประมงตามพฤติการณ์เช่นนี้ถือได้ว่า จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างควบคุมเรือ ว. ทองทะเล 4กระทำกิจการในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 4 ขณะเกิดเหตุเป็นฤดูมรสุม จำเลยที่ 1 มีอาชีพกู้เรือมานาน20 ปี ย่อมรู้ดีว่าการจอดเรือ ว. ทองทะเล 4 ในบริเวณที่ไม่มีที่กำบังลมเพื่อกู้ตัดเหล็กซากเรือใหญ่ที่อับปางอาจถูกลมพายุพัดหลุดลอยได้ง่าย การจัดการป้องกันด้วยการนำเรือไปหลบหาที่กำบังพายุก็สามารถกระทำได้ทันเพราะมีประกาศเตือนทางวิทยุให้รู้ว่าจะเกิดพายุล่วงหน้าติด ๆ กันทุกชั่วโมงตั้งแต่หัวค่ำของคืนก่อนวันเกิดเหตุ เมื่อจำเลยที่ 1 อาจป้องกันไม่ให้เรือถูกพายุได้แต่ไม่จัดการป้องกัน เป็นเหตุให้เรือ ว. ทองทะเล 4 ถูกพายุพัดหลุดลอยไปชนสะพานของโจทก์ จึงเกิดจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของจำเลยที่ 1 ไม่ใช่เหตุสุดวิสัย อายุความเป็นระยะเวลาอย่างหนึ่ง เมื่อวันสุดท้ายแห่งอายุความคือวันที่ 23 ตุลาคม 2522 เป็นวันหยุดก็ต้องนับวันที่เริ่มทำงานใหม่เข้าด้วย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 161 โจทก์ฟ้องคดีเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2522 จึงไม่ขาดอายุความ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4931/2533
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความหนี้ค่าบริการโทรศัพท์ทางไกล: การนับวันสุดท้ายเมื่อตรงกับวันหยุดราชการ
ค่าธรรมเนียมที่ผู้ใช้เครื่องโทรศัพท์พูดวิทยุโทรศัพท์ไปยังต่างประเทศโดยผ่านเครื่องวิทยุของโจทก์ มีลักษณะเป็นสินจ้างโจทก์จึงเป็นผู้ค้าในการรับทำการงานต่าง ๆ ตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(7) สิทธิเรียกร้องหนี้ค่าใช้บริการโทรศัพท์ทางไกลของโจทก์ จึงมีอายุความฟ้องร้อง 2 ปี เมื่อสิทธิเรียกร้องของโจทก์มีอายุความครบกำหนดตรงกับวันเสาร์หยุดราชการ การนับระยะเวลาวันสุดท้ายของการฟ้องร้อง ก็ต้องถือหลักตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 161 คือให้นับวันจันทร์อันเป็นวันที่เริ่มทำงานใหม่เข้าด้วยเป็นวันสุดท้าย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4431/2533
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความหนี้ค่าบริการโทรศัพท์ทางไกล: การนับวันสุดท้ายของอายุความเมื่อตรงกับวันหยุดราชการ
ค่าธรรมเนียมที่ผู้ใช้เครื่องโทรศัพท์พูดวิทยุโทรศัพท์ไปยังต่างประเทศโดยผ่านเครื่องวิทยุของโจทก์ มีลักษณะเป็นสินจ้าง โจทก์จึงเป็นผู้ค้าในการรับทำการงานต่าง ๆ ตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (7) สิทธิเรียกร้องหนี้ค่าใช้บริการโทรศัพท์ทางไกลของโจทก์ จึงมีอายุความฟ้องร้อง 2 ปี
เมื่อสิทธิเรียกร้องของโจทก์มีอายุความกำหนดตรงกับวันเสาร์หยุดราชการการนับระยะเวลาสุดท้ายของการฟ้องร้อง ก็ต้องคือหลักตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 161 คือให้นับวันจันทร์อันเป็นวันที่เริ่มทำงานใหม่เข้าด้วยเป็นวันสุดท้าย
เมื่อสิทธิเรียกร้องของโจทก์มีอายุความกำหนดตรงกับวันเสาร์หยุดราชการการนับระยะเวลาสุดท้ายของการฟ้องร้อง ก็ต้องคือหลักตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 161 คือให้นับวันจันทร์อันเป็นวันที่เริ่มทำงานใหม่เข้าด้วยเป็นวันสุดท้าย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4411/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ระยะเวลาความรับผิดของหุ้นส่วนออกจากการเป็นหุ้นส่วนจำกัด และการนับวันหยุดตามกฎหมาย
ส. เคยเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของห้างหุ้นส่วนจำกัด บ.จำเลยที่ 1 และออกจากการเป็นหุ้นส่วนเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2526ความรับผิดของ ส. อันเกี่ยวแก่หนี้ซึ่งห้างจำเลยที่ 1 ได้ก่อให้เกิดขึ้นก่อนที่ ส. ออกจากหุ้นส่วนนั้น ย่อมมีจำกัดเพียงสองปีนับแต่เมื่อออกจากหุ้นส่วน คือวันที่ 27 เมษายน 2528ซึ่งตรงกับวันเสาร์และในวันรุ่งขึ้น 28 ก็ตรงกับวันอาทิตย์อันเป็นวันหยุดราชการตามประเพณี เมื่อโจทก์นำคดีมาฟ้องในวันจันทร์ที่29 เมษายน 2528 จึงถือได้ว่า ยังอยู่ภายในระยะเวลาสองปีอันเป็นเงื่อนเวลาตามกฎหมายที่ ส. ยังมีความผูกพันเกี่ยวกับหนี้สินของห้างจำเลยที่ 1 ที่ ส. จะต้องรับผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1069/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทิ้งฟ้องและอำนาจดุลพินิจศาลในการจำหน่ายคดี พิจารณาถึงระยะเวลาที่เหมาะสมและเจตนาของโจทก์
ทนายโจทก์ยื่นคำแถลงขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องโดยประกาศหนังสือพิมพ์ ข้อความท้ายคำร้องแถลงมีว่า ข้าพเจ้ารอฟังคำสั่งอยู่ถ้าไม่รอให้ถือว่าทราบแล้ว ศาลชั้นต้นได้มีคำสั่งในวันเดียวกันนั้นไม่อนุญาตให้ประกาศหนังสือพิมพ์ ให้โจทก์แถลงว่าจะดำเนินการอย่างไรต่อไปภายใน 3 วัน มิฉะนั้นถือว่าทิ้งฟ้อง ต้องถือว่าโจทก์ได้ทราบคำสั่งนั้นแล้ว เมื่อโจทก์มิได้แถลงภายในเวลาที่ศาลชั้นต้นกำหนด จึงเป็นกรณีที่ถือได้ว่าโจทก์ทิ้งฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 174(2) ศาลชั้นต้นมีอำนาจจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132(1) ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132 ไม่ได้บังคับว่าศาลต้องจำหน่ายคดี เป็นแต่ให้ศาลใช้ดุลพินิจ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2527 ให้โจทก์แถลงภายใน 3 วัน วันที่7 ธันวาคม 2527 ทนายโจทก์ติดประชุม วันที่ 8 ธันวาคม 2527 ตรงกับวันเสาร์อันเป็นวันหยุดราชการ วันสุดท้ายแห่งระยะเวลาคือวันที่ 9 ธันวาคม 2527 แต่วันที่ 9 และวันที่ 10 ธันวาคม 2527 ตรงกับวันอาทิตย์และวันพระราชทานรัฐธรรมนูญตามลำดับอันเป็นวันหยุดราชการ โจทก์จึงมีสิทธิแถลงในวันที่ 11 ธันวาคม 2527 ได้ด้วย การที่โจทก์แถลงเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2527 จึงเกินกำหนดตาม คำสั่งศาลชั้นต้นที่จะยื่นได้เพียงวันเดียว ระยะเวลาที่ศาลชั้นต้น กำหนดให้โจทก์แถลงภายใน 3 วัน เป็นระยะเวลาค่อนข้างสั้น สำหรับกรณีนี้ ทั้งขณะโจทก์ยื่นคำร้องว่าไม่มีเจตนาทิ้งฟ้องและ แถลงขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนา คำฟ้องตามคำสั่งของศาลชั้นต้น อันเป็นการแสดงว่าโจทก์ประสงค์ให้ดำเนินคดีต่อไปศาลชั้นต้นก็ ยังมิได้สั่งจำหน่ายคดี คดีมีเหตุสมควรให้โจทก์ได้มีโอกาสดำเนินคดี ต่อไปโดยยังไม่สั่งจำหน่ายคดีของโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1069/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำหน่ายคดีเนื่องจากทิ้งฟ้อง: ศาลควรใช้ดุลพินิจพิจารณาเหตุผลประกอบการพิจารณา
ทนายโจทก์ยื่นคำแถลงขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องโดยประกาศหนังสือพิมพ์ ข้อความท้ายคำร้องคำแถลงมีว่า ข้าพเจ้ารอฟังคำสั่งอยู่ ถ้าไม่รอให้ถือว่าทราบแล้ว ศาลชั้นต้นได้มีคำสั่งในวันเดียวกันนั้นไม่อนุญาตให้ประกาศหนังสือพิมพ์ ให้โจทก์แถลงว่าจะดำเนินการอย่างไรต่อไปภายใน3 วัน มิฉะนั้นถือว่าทิ้งฟ้อง ต้องถือว่าโจทก์ได้ทราบคำสั่งนั้นแล้ว เมื่อโจทก์มิได้แถลงภายในเวลาที่ศาลชั้นต้นกำหนด จึงเป็นกรณีที่ถือได้ว่าโจทก์ทิ้งฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 174(2) ศาลชั้นต้นมีอำนาจจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132(1)
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132 ไม่ได้บังคับว่าศาลต้องจำหน่ายคดี เป็นแต่ให้ศาลใช้ดุลพินิจ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2527 ให้โจทก์แถลงภายใน 3 วันวันที่ 7 ธันวาคม 2527 ทนายโจทก์ติดประชุม วันที่ 8 ธันวาคม 2527ตรงกับวันเสาร์อันเป็นวันหยุดราชการ วันสุดท้ายแห่งระยะเวลาคือวันที่ 9 ธันวาคม 2527 แต่วันที่ 9 และวันที่ 10 ธันวาคม2527 ตรงกับวันอาทิตย์และวันพระราชทานรัฐธรรมนูญตามลำดับอันเป็นวันหยุดราชการโจทก์จึงมีสิทธิแถลงในวันที่ 11 ธันวาคม2527 ได้ด้วย การที่โจทก์แถลงเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2527 จึงเกินกำหนดตามคำสั่งศาลชั้นต้นที่จะยื่นได้เพียงวันเดียวระยะเวลาที่ศษลชั้นต้นกำหนดให้โจทก์แถลงภายใน 3 วัน เป็นระยะเวลาค่อนข้างสั้นสำหรับกรณีนี้ ทั้งขณะโจทก์ยื่นคำร้องว่าไม่มีเจตนาทิ้งฟ้องและแถลงขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องตามคำสั่งของศาลชั้นต้นอันเป็นการแสดงว่าโจทก์ประสงค์ได้ดำเนินคดีต่อไป ศาลชั้นต้นก็ยังมิได้สั่งจำหน่ายคดี คดีมีเหตุสมควรให้โจทก์ได้มีโอกาสดำเนินคดีต่อไป โดยยังไม่สั่งจำหน่ายคดีของโจทก์.
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132 ไม่ได้บังคับว่าศาลต้องจำหน่ายคดี เป็นแต่ให้ศาลใช้ดุลพินิจ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2527 ให้โจทก์แถลงภายใน 3 วันวันที่ 7 ธันวาคม 2527 ทนายโจทก์ติดประชุม วันที่ 8 ธันวาคม 2527ตรงกับวันเสาร์อันเป็นวันหยุดราชการ วันสุดท้ายแห่งระยะเวลาคือวันที่ 9 ธันวาคม 2527 แต่วันที่ 9 และวันที่ 10 ธันวาคม2527 ตรงกับวันอาทิตย์และวันพระราชทานรัฐธรรมนูญตามลำดับอันเป็นวันหยุดราชการโจทก์จึงมีสิทธิแถลงในวันที่ 11 ธันวาคม2527 ได้ด้วย การที่โจทก์แถลงเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2527 จึงเกินกำหนดตามคำสั่งศาลชั้นต้นที่จะยื่นได้เพียงวันเดียวระยะเวลาที่ศษลชั้นต้นกำหนดให้โจทก์แถลงภายใน 3 วัน เป็นระยะเวลาค่อนข้างสั้นสำหรับกรณีนี้ ทั้งขณะโจทก์ยื่นคำร้องว่าไม่มีเจตนาทิ้งฟ้องและแถลงขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องตามคำสั่งของศาลชั้นต้นอันเป็นการแสดงว่าโจทก์ประสงค์ได้ดำเนินคดีต่อไป ศาลชั้นต้นก็ยังมิได้สั่งจำหน่ายคดี คดีมีเหตุสมควรให้โจทก์ได้มีโอกาสดำเนินคดีต่อไป โดยยังไม่สั่งจำหน่ายคดีของโจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1069/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำหน่ายคดีเนื่องจากไม่ปฏิบัติตามคำสั่งศาล: ศาลฎีกาให้ความสำคัญกับระยะเวลาที่เหมาะสมและเจตนาของโจทก์
ทนายโจทก์ยื่นคำแถลงขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องโดยประกาศหนังสือพิมพ์ ข้อความท้ายคำร้องคำแถลงมีว่า ข้าพเจ้ารอฟังคำสั่งอยู่ ถ้าไม่รอให้ถือว่าทราบแล้ว ศาลชั้นต้นได้มีคำสั่งในวันเดียวกันนั้นไม่อนุญาตให้ประกาศหนังสือพิมพ์ ให้โจทก์แถลงว่าจะดำเนินการอย่างไรต่อไปภายใน 3 วัน มิฉะนั้นถือว่าทิ้งฟ้อง ต้องถือว่าโจทก์ได้ทราบคำสั่งนั้นแล้ว เมื่อโจทก์มิได้แถลงภายในเวลาที่ศาลชั้นต้นกำหนด จึงเป็นกรณีที่ถือได้ว่าโจทก์ทิ้งฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 174 (2) ศาลชั้นต้นมีอำนาจจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132 (1)
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132 ไม่ได้บังคับว่าศาลต้องจำหน่ายคดี เป็นแต่ให้ศาลใช้ดุลพินิจ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2527 ให้โจทก์แถลงภายใน 3 วันวันที่ 7 ธันวาคม 2527 ทนายโจทก์ติดประชุม วันที่ 8 ธันวาคม 2527ตรงกับวันเสาร์อันเป็นวันหยุดราชการ วันสุดท้ายแห่งระยะเวลาคือวันที่ 9 ธันวาคม 2527 แต่วันที่ 9 และวันที่ 10 ธันวาคม 2527 ตรงกับวันอาทิตย์และวันพระราชทานรัฐธรรมนูญตามลำดับอันเป็นวันหยุดราชการโจทก์จึงมีสิทธิแถลงในวันที่ 11 ธันวาคม 2527 ได้ด้วย การที่โจทก์แถลงเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2527 จึงเกินกำหนดตามคำสั่งศาลชั้นต้นที่จะยื่นได้เพียงวันเดียวระยะเวลาที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้โจทก์แถลงภายใน 3 วัน เป็นระยะเวลาค่อนข้างสั้นสำหรับกรณีนี้ ทั้งขณะโจทก์ยื่นคำร้องว่าไม่มีเจตนาทิ้งฟ้องและแถลงขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องตามคำสั่งของศาลชั้นต้นอันเป็นการแสดงว่าโจทก์ประสงค์ได้ดำเนินคดีต่อไป ศาลชั้นต้นก็ยังมิได้สั่งจำหน่ายคดี คดีมีเหตุสมควรให้โจทก์ได้มีโอกาสดำเนินคดีต่อไป โดยยังไม่สั่งจำหน่ายคดีของโจทก์
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132 ไม่ได้บังคับว่าศาลต้องจำหน่ายคดี เป็นแต่ให้ศาลใช้ดุลพินิจ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2527 ให้โจทก์แถลงภายใน 3 วันวันที่ 7 ธันวาคม 2527 ทนายโจทก์ติดประชุม วันที่ 8 ธันวาคม 2527ตรงกับวันเสาร์อันเป็นวันหยุดราชการ วันสุดท้ายแห่งระยะเวลาคือวันที่ 9 ธันวาคม 2527 แต่วันที่ 9 และวันที่ 10 ธันวาคม 2527 ตรงกับวันอาทิตย์และวันพระราชทานรัฐธรรมนูญตามลำดับอันเป็นวันหยุดราชการโจทก์จึงมีสิทธิแถลงในวันที่ 11 ธันวาคม 2527 ได้ด้วย การที่โจทก์แถลงเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2527 จึงเกินกำหนดตามคำสั่งศาลชั้นต้นที่จะยื่นได้เพียงวันเดียวระยะเวลาที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้โจทก์แถลงภายใน 3 วัน เป็นระยะเวลาค่อนข้างสั้นสำหรับกรณีนี้ ทั้งขณะโจทก์ยื่นคำร้องว่าไม่มีเจตนาทิ้งฟ้องและแถลงขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องตามคำสั่งของศาลชั้นต้นอันเป็นการแสดงว่าโจทก์ประสงค์ได้ดำเนินคดีต่อไป ศาลชั้นต้นก็ยังมิได้สั่งจำหน่ายคดี คดีมีเหตุสมควรให้โจทก์ได้มีโอกาสดำเนินคดีต่อไป โดยยังไม่สั่งจำหน่ายคดีของโจทก์