พบผลลัพธ์ทั้งหมด 42 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4315/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโต้แย้งประเด็นเพิ่มเติมหลังชี้สองสถานและการวินิจฉัยเรื่องอายุความคดีมรดก
จำเลยยื่นคำแถลงคัดค้านการชี้สองสถานว่าจำเลยเห็นว่าคดีควรมีประเด็นเพิ่มขึ้นอีกว่าทรัพย์มรดกของ ต. ได้แบ่งแก่ทายาทเสร็จสิ้นแล้วหรือไม่ และโจทก์มีอำนาจฟ้องหรือไม่ เพื่อประโยชน์ในการใช้สิทธิอุทธรณ์หรือ ฎีกาคำแถลงของจำเลยดังกล่าวมิใช่กรณีร้องขอให้ศาลเพิกถอนการพิจารณาที่ผิดระเบียบตามมาตรา 27 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง แต่เป็นกรณีที่จำเลยแถลงคัดค้านการกำหนดประเด็นของศาลชั้นต้นในการชี้สองสถานว่ายังมีประเด็นเพิ่มอีกอันเป็นการโต้แย้งคำสั่งตามมาตรา 226 (2) แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งจำเลยย่อมอุทธรณ์ฎีกาได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3961-3962/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีมรดกนับจากวันตายเจ้ามรดก และสิทธิทายาทสืบแทน
อายุความฟ้องร้องคดีมรดก ต้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่เจ้ามรดกตาย
มารดาของจำเลยเป็นพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันกับโจทก์และเจ้ามรดก เมื่อมารดาจำเลยสละมรดก จำเลยซึ่งเป็นบุตรจึงมีสิทธิ สืบมรดกได้ตามมาตรา 1615 และมีฐานะเป็นทายาทของเจ้ามรดก ในลำดับเดียวกับโจทก์ มีสิทธิยกอายุความ 1 ปีขึ้นต่อสู้โจทก์ได้ ตามมาตรา 1755
มารดาของจำเลยเป็นพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันกับโจทก์และเจ้ามรดก เมื่อมารดาจำเลยสละมรดก จำเลยซึ่งเป็นบุตรจึงมีสิทธิ สืบมรดกได้ตามมาตรา 1615 และมีฐานะเป็นทายาทของเจ้ามรดก ในลำดับเดียวกับโจทก์ มีสิทธิยกอายุความ 1 ปีขึ้นต่อสู้โจทก์ได้ ตามมาตรา 1755
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3961-3962/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความคดีมรดกเริ่มต้นนับแต่วันตาย และทายาทที่สืบสันดานมีสิทธิยกอายุความได้
อายุความฟ้องร้องคดีมรดก ต้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่เจ้ามรดกตาย
มารดาของจำเลยเป็นพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันกับโจทก์และเจ้ามรดก เมื่อมารดาจำเลยสละมรดก จำเลยซึ่งเป็นบุตรจึงมีสิทธิ สืบมรดกได้ตามมาตรา 1615 และมีฐานะเป็นทายาทของเจ้ามรดก ในลำดับเดียวกับโจทก์ มีสิทธิยกอายุความ 1ปีขึ้นต่อสู้โจทก์ได้ ตามมาตรา 1755
มารดาของจำเลยเป็นพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันกับโจทก์และเจ้ามรดก เมื่อมารดาจำเลยสละมรดก จำเลยซึ่งเป็นบุตรจึงมีสิทธิ สืบมรดกได้ตามมาตรา 1615 และมีฐานะเป็นทายาทของเจ้ามรดก ในลำดับเดียวกับโจทก์ มีสิทธิยกอายุความ 1ปีขึ้นต่อสู้โจทก์ได้ ตามมาตรา 1755
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2128-2129/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สถานะผู้จัดการมรดกเปลี่ยนแปลง: ผลต่อสิทธิร้องสอดในคดีมรดก
ศาลชั้นต้นสั่งตั้งผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดก ผู้ร้องจึงร้องสอดขอเข้าเป็นคู่ความในคดีที่ทายาทพิพาทเรื่องแบ่งมรดกกัน ศาลชั้นต้นยกคำร้องขอเข้าเป็นคู่ความ ศาลอุทธรณ์พิพากษากลับ อนุญาตให้ผู้ร้องเข้าเป็นโจทก์ร่วมได้ จำเลยในคดีนั้นฎีกา ระหว่างฎีกาศาลอุทธรณ์พิพากษายกคำสั่งศาลที่ตั้งผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดก ให้ศาลพิจารณาคำขอตั้งผู้จัดการมรดกแล้วมีคำสั่งใหม่ ดังนี้ ผู้ร้องจึงไม่มีฐานะเป็นผู้จัดการมรดกและร้องสอด ไม่มีส่วนได้เสียที่จะร้องสอด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1584/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยกอายุความในคดีมรดก: จำเลยต้องอ้างอย่างชัดเจนตามกฎหมาย
จำเลยให้การว่าฟ้องของโจทก์ขาดอายุความ เพราะคดีนี้เป็นคดีเกี่ยวกับมรดก จำเลยเป็นทายาทตามพินัยกรรม โจทก์ฟ้องคดีเมื่อพ้นกำหนดหนึ่งปี เป็นคำให้การที่จำเลยประสงค์ยกอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 เป็นข้อต่อสู้ ที่จำเลยให้การอีกข้อหนึ่งว่าโจทก์ขาดอำนาจฟ้องเพราะมิได้ฟ้องคดีภายในกำหนด 60 วัน ตามคำสั่งของนายอำเภอ ก็ยังไม่พอแปลได้ว่า จำเลยได้ยกอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1710 เป็นข้อต่อสู้ คดีไม่มีประเด็นว่าฟ้องของโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1710
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1584/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยกอายุความในคดีมรดก: ศาลฎีกาวินิจฉัยประเด็นการต่อสู้เรื่องอายุความตามมาตรา 1754 และ 1710
จำเลยให้การว่าฟ้องของโจทก์ขาดอายุความ เพราะคดีนี้เป็นคดีเกี่ยวกับมรดกจำเลยเป็นทายาทตามพินัยกรรม โจทก์ฟ้องคดีเมื่อพ้นกำหนดหนึ่งปี เป็นคำให้การที่จำเลยประสงค์ยกอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 เป็นข้อต่อสู้ที่จำเลยให้การอีกข้อหนึ่งว่า โจทก์ขาดอำนาจฟ้องเพราะมิได้ฟ้องคดีภายในกำหนด 60 วัน ตามคำสั่งของนายอำเภอก็ยังไม่พอแปลได้ว่า จำเลยได้ยกอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1710 เป็นข้อต่อสู้คดีไม่มีประเด็นว่าฟ้องของโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1710
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1579/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองแทนและการขาดอายุความในคดีมรดก: ครอบครองแทนมีผลเฉพาะช่วงมีชีวิตเจ้ามรดก
ฉ. เจ้าของที่ดินพิพาท อนุญาตให้จำเลยซึ่งเป็นมารดาทำกินในที่ดินพิพาทการครอบครองของจำเลยเหนือที่พิพาทอาจ ถือว่าเป็นการครอบครองแทน ฉ. ได้เฉพาะแต่ในระหว่าง ฉ. มีชีวิตอยู่เท่านั้น เมื่อ ฉ. ถึงแก่กรรมแล้ว จะถือว่าจำเลยครอบครองที่พิพาทซึ่งกลายเป็นมรดกแทนโจทก์ซึ่งเป็นสามี ฉ. ต่อไปหาได้ไม่
โจทก์ฟ้องคดีเกี่ยวกับมรดกเกิน 1 ปี นับแต่ ฉ. ถึงแก่กรรมฟ้องโจทก์ขาดอายุความ
โจทก์ฟ้องคดีเกี่ยวกับมรดกเกิน 1 ปี นับแต่ ฉ. ถึงแก่กรรมฟ้องโจทก์ขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 122/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจดำเนินคดีของพนักงานอัยการ และการขอคุ้มครองประโยชน์ระหว่างคดีมรดก
เดิมพนักงานอัยการจังหวัดเชียงใหม่โดย ป.ผู้ดำรงตำแหน่งอัยการจังหวัดเชียงใหม่เป็นโจทก์ฟ้องขอแบ่งมรดกมีพินัยกรรมของ ค.จากจำเลยซึ่งเป็นบุพพการีของ บ.โดยอาศัยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1534 ต่อมา ป.ย้ายไปรับราชการประจำกรมอัยการ ดังนี้ เห็นว่า ป.เป็นโจทก์ฟ้องจำเลยในฐานะพนักงานอัยการจังหวัดเชียงใหม่ มิได้ฟ้องเป็นส่วนตัว โดยได้รับมอบอำนาจจากบรรดาทายาท ฉะนั้น ในการดำเนินคดี หาก ป.ไม่อยู่หรือถูกย้ายไปพนักงานอัยการจังหวัดเชียงใหม่คนอื่นๆ ก็มีอำนาจดำเนินคดีแทน ป.ได้ โดยไม่ต้องได้รับมอบอำนาจจาก ป.อีก
โจทก์ฟ้องขอให้ศาลพิพากษาบังคับจำเลยแบ่งที่นาพิพาทให้แก่บรรดาทายาทตามพินัยกรรมของค. จำเลยต่อสู้ว่าที่นาพิพาททั้งหมดเป็นของจำเลย มิใช่มรดกของค. ดังนี้คำฟ้องและคำขอของโจทก์เพียงขอให้แบ่งที่นาพิพาทบางส่วนแก่ทายาทตามพินัยกรรมของ ค.เท่านั้น มิได้ฟ้องและมีคำขอให้ใช้ค่าเสียหายในการที่บรรดาทายาทมิได้รับประโยชน์จากที่นาพิพาทในระหว่างคดี ฉะนั้น การที่โจทก์ร้องขอให้ตั้งผู้จัดการผลประโยชน์ที่นาพิพาทเพื่อรวบรวมผลประโยชน์ในระหว่างคดีแบ่งให้แก่ทายาท จึงเป็นการนอกฟ้องและเกินคำขอ
โจทก์ฟ้องขอให้ศาลพิพากษาบังคับจำเลยแบ่งที่นาพิพาทให้แก่บรรดาทายาทตามพินัยกรรมของค. จำเลยต่อสู้ว่าที่นาพิพาททั้งหมดเป็นของจำเลย มิใช่มรดกของค. ดังนี้คำฟ้องและคำขอของโจทก์เพียงขอให้แบ่งที่นาพิพาทบางส่วนแก่ทายาทตามพินัยกรรมของ ค.เท่านั้น มิได้ฟ้องและมีคำขอให้ใช้ค่าเสียหายในการที่บรรดาทายาทมิได้รับประโยชน์จากที่นาพิพาทในระหว่างคดี ฉะนั้น การที่โจทก์ร้องขอให้ตั้งผู้จัดการผลประโยชน์ที่นาพิพาทเพื่อรวบรวมผลประโยชน์ในระหว่างคดีแบ่งให้แก่ทายาท จึงเป็นการนอกฟ้องและเกินคำขอ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1478/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาช่วยเหลือคดีมรดก: จ่ายเงินรางวัลเมื่อยอมความได้ส่วนแบ่ง แม้ยังไม่มีผลพิสูจน์ลายมือ
จำเลยขอให้โจทก์เจรจาติดต่อกับผู้เชี่ยวชาญการพิสูจน์ลายมือเพื่อพิสูจน์ลายมือในพินัยกรรมในคดีที่จำเลยฟ้องขอแบ่งมรดก โจทก์ได้เจรจาจนผู้เชี่ยวชาญนั้นยอมรับจะพิสูจน์ จำเลยจึงได้ทำสัญญาให้โจทก์ไว้มีข้อความว่า
ข้อ 1 ผู้ให้สัญญายอมให้ผู้ถือสัญญาจัดการวิ่งเต้นช่วยเหลือคดีมรดกของผู้ให้สัญญา และ
ข้อ 2 เมื่อคดีมรดกของผู้ให้สัญญาได้เสร็จสิ้นลงและผู้ให้สัญญาได้รับเงินส่วนแบ่งในคดีมรดกนั้นแล้ว ผู้ให้สัญญาต้องจ่ายเงิน 60,000 บาทให้แก่ผู้ถือสัญญา ฯลฯ
ข้อ 3 หากคดีมรดกนี้ได้มีการประนีประนอมยอมความลงก่อนศาลพิพากษา ผู้ให้สัญญายอมจ่ายเงินรางวัลให้แก่ผู้ถือสัญญาเพียง 30,000 บาท
ดังนี้ หากมีการทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันในศาลโดยจำเลยได้รับส่วนแบ่งมรดกแล้ว แม้ผู้เชี่ยวชาญจะยังมิได้ทำการพิสูจน์ลายมือ จำเลยก็ต้องจ่ายเงินให้แก่โจทก์ตามสัญญาข้อ 3
ข้อ 1 ผู้ให้สัญญายอมให้ผู้ถือสัญญาจัดการวิ่งเต้นช่วยเหลือคดีมรดกของผู้ให้สัญญา และ
ข้อ 2 เมื่อคดีมรดกของผู้ให้สัญญาได้เสร็จสิ้นลงและผู้ให้สัญญาได้รับเงินส่วนแบ่งในคดีมรดกนั้นแล้ว ผู้ให้สัญญาต้องจ่ายเงิน 60,000 บาทให้แก่ผู้ถือสัญญา ฯลฯ
ข้อ 3 หากคดีมรดกนี้ได้มีการประนีประนอมยอมความลงก่อนศาลพิพากษา ผู้ให้สัญญายอมจ่ายเงินรางวัลให้แก่ผู้ถือสัญญาเพียง 30,000 บาท
ดังนี้ หากมีการทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันในศาลโดยจำเลยได้รับส่วนแบ่งมรดกแล้ว แม้ผู้เชี่ยวชาญจะยังมิได้ทำการพิสูจน์ลายมือ จำเลยก็ต้องจ่ายเงินให้แก่โจทก์ตามสัญญาข้อ 3
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1478/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาช่วยเหลือคดีมรดก: สิทธิรับเงินรางวัลเมื่อยอมความได้ตามเจตนา
จำเลยขอให้โจทก์เจรจาติดต่อกับผู้เชี่ยวชาญการพิสูจน์ลายมือเพื่อพิสูจน์ลายมือในพินัยกรรมในคดีที่จำเลยฟ้องขอแบ่งมรดก โจทก์ได้เจรจาจนผู้เชี่ยวชาญนั้นยอมรับจะพิสูจน์จำเลยจึงได้ทำสัญญาให้โจทก์ไว้มีข้อความว่า
ข้อ 1 ผู้ให้สัญญายอมให้ผู้ถือสัญญาจัดการวิ่งเต้นช่วยเหลือคดีมรดกของผู้ให้สัญญา และ
ข้อ 2 เมื่อคดีมรดกของผู้ให้สัญญาได้เสร็จสิ้นลงและผู้ให้สัญญาได้รับเงินส่วนแบ่งในคดีมรดกนั้นแล้ว ผู้ให้สัญญาต้องจ่ายเงิน 60,000 บาทให้แก่ผู้ถือสัญญา ฯลฯ
ข้อ 3 หากคดีมรดกนี้ได้มีการประนีประนอมยอมความลงก่อนศาลพิพากษาผู้ให้สัญญายอมจ่ายเงินรางวัลให้แก่ผู้ถือสัญญาเพียง 30,000 บาท
ดังนี้ หากมีการทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันในศาลโดยจำเลยได้รับส่วนแบ่งมรดกแล้ว แม้ผู้เชี่ยวชาญจะยังมิได้ทำการพิสูจน์ลายมือ จำเลยก็ต้องจ่ายเงินให้แก่โจทก์ตามสัญญาข้อ 3
ข้อ 1 ผู้ให้สัญญายอมให้ผู้ถือสัญญาจัดการวิ่งเต้นช่วยเหลือคดีมรดกของผู้ให้สัญญา และ
ข้อ 2 เมื่อคดีมรดกของผู้ให้สัญญาได้เสร็จสิ้นลงและผู้ให้สัญญาได้รับเงินส่วนแบ่งในคดีมรดกนั้นแล้ว ผู้ให้สัญญาต้องจ่ายเงิน 60,000 บาทให้แก่ผู้ถือสัญญา ฯลฯ
ข้อ 3 หากคดีมรดกนี้ได้มีการประนีประนอมยอมความลงก่อนศาลพิพากษาผู้ให้สัญญายอมจ่ายเงินรางวัลให้แก่ผู้ถือสัญญาเพียง 30,000 บาท
ดังนี้ หากมีการทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันในศาลโดยจำเลยได้รับส่วนแบ่งมรดกแล้ว แม้ผู้เชี่ยวชาญจะยังมิได้ทำการพิสูจน์ลายมือ จำเลยก็ต้องจ่ายเงินให้แก่โจทก์ตามสัญญาข้อ 3