พบผลลัพธ์ทั้งหมด 571 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 185/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการรับชำระหนี้ของผู้ค้ำประกันในคดีล้มละลาย: การยื่นคำขอรับชำระหนี้ซ้ำได้เพื่อคุ้มครองสิทธิ
หนี้เงินกู้เป็นหนี้ที่จำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันบริษัทส. ซึ่งได้กู้เงินเจ้าหนี้ไป แต่ปรากฏว่าบริษัท ส.ถูกพิพากษาให้ล้มละลาย เจ้าหนี้ก็ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้เอาจากกองทรัพย์สินของบริษัท ส. และศาลได้สั่งให้ได้รับชำระหนี้เต็มจำนวน ดังนี้การที่ศาลมีคำสั่งให้ผู้ขอรับชำระหนี้ในคดีแดงที่ 99/2507 ซึ่งบริษัท ส. เป็นลูกหนี้และล้มละลายให้ได้รับชำระหนี้นั้นมีผลเพียงให้ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิที่จะได้รับชำระหนี้เต็มจำนวนที่ได้ยื่นขอรับชำระหนี้เท่านั้น ซึ่งผู้ขอรับชำระหนี้ยังไม่ได้รับชำระหนี้รายนี้เลย จำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายมีหน้าที่ผูกพันตนต่อเจ้าหนี้เพื่อชำระหนี้ในเมื่อลูกหนี้ไม่สามารถชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้เต็มตามจำนวนที่เป็นหนี้ โดยผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชำระหนี้ได้เต็มตามจำนวนตามอำนาจของเจ้าหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 194 และเมื่อปรากฏว่าจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันถูกศาลพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย โดยหนี้นั้นลูกหนี้ยังไม่ได้ชำระหนี้แก่เจ้าหนี้ ประกอบกับพระราชบัญญัติล้มละลายมาตรา 91 ได้บัญญัติให้เจ้าหนี้ซึ่งจะขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลายต้องยื่นคำขอต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำหนดเวลา 2 เดือน นับแต่วันโฆษณาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีกในฐานะจำเลยผู้ล้มละลายเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายอีกคดีหนึ่งอยู่ ถ้าจะให้ผู้ขอรับชำระหนี้รอไว้จนกว่าจะได้รับส่วนแบ่งชำระหนี้จากคดีล้มละลายแดงที่ 99/2507 เสียก่อนก็จะพ้นกำหนดเวลายื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ผู้ขอรับชำระหนี้ไม่อาจจะยื่นคำขอรับชำระหนี้ได้ ทำให้ผู้ขอรับชำระหนี้เสียหายและลบล้างอำนาจของเจ้าหนี้ซึ่งมีอยู่ ฉะนั้น ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีก แต่ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิได้รับชำระหนี้ในคดีนี้และคดีแดงที่ 99/2507 รวม 2 คดีไม่เกินจำนวนเงินตามที่เป็นเจ้าหนี้อยู่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 185/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการเรียกร้องหนี้จากผู้ค้ำประกันในคดีล้มละลาย: ยื่นคำขอรับชำระหนี้ได้อีก แม้เคยได้รับชำระหนี้บางส่วน
หนี้เงินกู้เป็นหนี้ที่จำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันบริษัทส.ซึ่งได้กู้เงินเจ้าหนี้ไปแต่ปรากฏว่าบริษัท ส. ถูกพิพากษาให้ล้มละลายเจ้าหนี้ก็ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้เอาจากกองทรัพย์สินของบริษัท ส. และศาลได้สั่งให้ได้รับชำระหนี้เต็มจำนวนดังนี้การที่ศาลมีคำสั่งให้ผู้ขอรับชำระหนี้ในคดีแดงที่ 99/2507 ซึ่งบริษัท ส. เป็นลูกหนี้และล้มละลายให้ได้รับชำระหนี้นั้นมีผลเพียงให้ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิที่จะได้รับชำระหนี้เต็มจำนวนที่ได้ยื่นขอรับชำระหนี้เท่านั้น ซึ่งผู้ขอรับชำระหนี้ยังไม่ได้รับชำระหนี้รายนี้เลยจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายมีหน้าที่ผูกพันตนต่อเจ้าหนี้เพื่อชำระหนี้ในเมื่อลูกหนี้ไม่สามารถชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้เต็มตามจำนวนที่เป็นหนี้ โดยผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชำระหนี้ได้เต็มตามจำนวนตามอำนาจของเจ้าหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 194 และเมื่อปรากฏว่าจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันถูกศาลพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย โดยหนี้นั้นลูกหนี้ยังไม่ได้ชำระหนี้แก่เจ้าหนี้ประกอบกับพระราชบัญญัติล้มละลาย มาตรา 91 ได้บัญญัติให้เจ้าหนี้ซึ่งจะขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลายต้องยื่นคำขอต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำหนดเวลา 2 เดือน นับแต่วันโฆษณาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีกในฐานะจำเลยผู้ล้มละลายเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายอีกคดีหนึ่งอยู่ถ้าจะให้ผู้ขอรับชำระหนี้รอไว้จนกว่าจะได้รับส่วนแบ่งชำระหนี้จากคดีล้มละลายแดงที่99/2507 เสียก่อนก็จะพ้นกำหนดเวลายื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ผู้ขอรับชำระหนี้ไม่อาจจะยื่นคำขอรับชำระหนี้ได้ทำให้ผู้ขอรับชำระหนี้เสียหายและลบล้างอำนาจของเจ้าหนี้ซึ่งมีอยู่ฉะนั้น ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีกแต่ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิได้รับชำระหนี้ในคดีนี้และคดีแดงที่ 99/2507 รวม 2 คดีไม่เกินจำนวนเงินตามที่เป็นเจ้าหนี้อยู่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 185/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการรับชำระหนี้ของผู้ค้ำประกันในคดีล้มละลาย: ยื่นคำขอได้แม้ลูกหนี้ได้รับชำระหนี้บางส่วน
หนี้เงินกู้เป็นหนี้ที่จำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันบริษัทส.ซึ่งได้กู้เงินเจ้าหนี้ไป.แต่ปรากฏว่าบริษัทส.ถูกพิพากษาให้ล้มละลาย. เจ้าหนี้ก็ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้เอาจากกองทรัพย์สินของบริษัท ส. และศาลได้สั่งให้ได้รับชำระหนี้เต็มจำนวน. ดังนี้การที่ศาลมีคำสั่งให้ผู้ขอรับชำระหนี้ในคดีแดงที่ 99/2507 ซึ่งบริษัท ส. เป็นลูกหนี้และล้มละลายให้ได้รับชำระหนี้นั้นมีผลเพียงให้ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิที่จะได้รับชำระหนี้เต็มจำนวนที่ได้ยื่นขอรับชำระหนี้เท่านั้น. ซึ่งผู้ขอรับชำระหนี้ยังไม่ได้รับชำระหนี้รายนี้เลย. จำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายมีหน้าที่ผูกพันตนต่อเจ้าหนี้เพื่อชำระหนี้.ในเมื่อลูกหนี้ไม่สามารถชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้เต็มตามจำนวนที่เป็นหนี้. โดยผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชำระหนี้ได้เต็มตามจำนวนตามอำนาจของเจ้าหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 194. และเมื่อปรากฏว่าจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันถูกศาลพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย โดยหนี้นั้น.ลูกหนี้ยังไม่ได้ชำระหนี้แก่เจ้าหนี้. ประกอบกับพระราชบัญญัติล้มละลาย มาตรา 91 ได้บัญญัติให้เจ้าหนี้ซึ่งจะขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลายต้องยื่นคำขอต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำหนดเวลา 2 เดือน นับแต่วันโฆษณาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด. ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีกในฐานะจำเลยผู้ล้มละลายเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายอีกคดีหนึ่งอยู่. ถ้าจะให้ผู้ขอรับชำระหนี้รอไว้จนกว่าจะได้รับส่วนแบ่งชำระหนี้จากคดีล้มละลายแดงที่ 99/2507 เสียก่อน.ก็จะพ้นกำหนดเวลายื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้.ผู้ขอรับชำระหนี้ไม่อาจจะยื่นคำขอรับชำระหนี้ได้. ทำให้ผู้ขอรับชำระหนี้เสียหายและลบล้างอำนาจของเจ้าหนี้ซึ่งมีอยู่. ฉะนั้น ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีก. แต่ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิได้รับชำระหนี้ในคดีนี้และคดีแดงที่ 99/2507 รวม 2 คดีไม่เกินจำนวนเงินตามที่เป็นเจ้าหนี้อยู่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1808/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาค้ำประกัน, การล้มละลายของลูกหนี้, ความรับผิดของผู้ค้ำประกัน, อัตราดอกเบี้ย, อายุความ
พ่อค้าตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (1) นั้น หมายถึงบุคคลประเภทที่ซื้อและขายสินค้าเป็นปกติธุระ ธนาคารพาณิชย์ที่ประกอบกิจการค้าตามวิธีการของธนาคาร หาใช่พ่อค้าตามความหมายแห่งอนุมาตรานี้ไม่ จะใช้อายุความ 2 ปีมาปรับแก่คดีไม่ได้
จำเลยเข้าทำสัญญาค้ำประกัน ยินยอมเสียดอกเบี้ยร้อยละ 12 ต่อปีให้แก่ธนาคาร เมื่อผิดนัดไม่ชำระหนี้ตามกำหนด ก็ต้องเสียดอกเบี้ยตามอัตรานี้ตลอดไปจนกว่าจะชำระหนี้เสร็จ
ศาลพิพากษายกฟ้องจำเลย ซึ่งเป็นลูกหนี้โดยโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง เนื่องจากลูกหนี้ล้มละลาย ศาลก็มีอำนาจที่จะพิจารณาคดีสำหรับจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันต่อไปได้ จำเลยผู้ค้ำประกันหาพ้นความรับผิดไม่ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 688 การที่โจทก์ไม่ยื่นคำขอรับชำระหนี้ เมื่อจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดนั้น เป็นเรื่องของโจทก์ เมื่อไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติล้มละลาย โจทก์ก็หมดสิทธิที่จะเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้รายนี้ได้เท่านั้น ส่วนจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันยังต้องรับผิดต่อโจทก์ในฐานะเป็นผู้ค้ำประกันอยู่
จำเลยเข้าทำสัญญาค้ำประกัน ยินยอมเสียดอกเบี้ยร้อยละ 12 ต่อปีให้แก่ธนาคาร เมื่อผิดนัดไม่ชำระหนี้ตามกำหนด ก็ต้องเสียดอกเบี้ยตามอัตรานี้ตลอดไปจนกว่าจะชำระหนี้เสร็จ
ศาลพิพากษายกฟ้องจำเลย ซึ่งเป็นลูกหนี้โดยโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง เนื่องจากลูกหนี้ล้มละลาย ศาลก็มีอำนาจที่จะพิจารณาคดีสำหรับจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันต่อไปได้ จำเลยผู้ค้ำประกันหาพ้นความรับผิดไม่ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 688 การที่โจทก์ไม่ยื่นคำขอรับชำระหนี้ เมื่อจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดนั้น เป็นเรื่องของโจทก์ เมื่อไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติล้มละลาย โจทก์ก็หมดสิทธิที่จะเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้รายนี้ได้เท่านั้น ส่วนจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันยังต้องรับผิดต่อโจทก์ในฐานะเป็นผู้ค้ำประกันอยู่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 751/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาค้ำประกันเช่าซื้อ: ผู้ให้เช่าซื้อไม่มีหน้าที่แจ้งผู้ค้ำประกันก่อนยึดทรัพย์ และผู้ค้ำประกันไม่หลุดพ้นความรับผิด
ตามสัญญาเช่าซื้อและสัญญาค้ำประกันที่ทำไว้ ไม่ได้กำหนดว่า เมื่อผู้เช่าซื้อผิดนัดไม่ใช้เงินค่าเช่าซื้อ หรือเมื่อผู้ให้เช่าซื้อเลิกสัญญายึดทรัพย์ที่เช่าซื้อคืนผู้ให้เช่าซื้อจะต้องแจ้งให้ผู้ค้ำประกันทราบก่อน ผู้ให้เช่าซื้อจึงไม่มีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องแจ้งให้ผู้ค้ำประกันทราบ
ฎีกาซึ่งมิได้ยกข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายขึ้นโต้แย้งคัดค้านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์แต่ประการใด เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย แม้ศาลชั้นต้นสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัย
ฎีกาซึ่งมิได้ยกข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายขึ้นโต้แย้งคัดค้านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์แต่ประการใด เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย แม้ศาลชั้นต้นสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 751/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาค้ำประกัน - หน้าที่แจ้งการยึดทรัพย์ - ความรับผิดของผู้ค้ำประกัน
ตามสัญญาเช่าซื้อและสัญญาค้ำประกันที่ทำไว้ ไม่ได้กำหนดว่า เมื่อผู้เช่าซื้อผิดนัดไม่ใช้เงินค่าเช่าซื้อ หรือเมื่อผู้ให้เช่าซื้อเลิกสัญญายึดทรัพย์ที่เช่าซื้อคืน.ผู้ให้เช่าซื้อจะต้องแจ้งให้ผู้ค้ำประกันทราบก่อน.ผู้ให้เช่าซื้อจึงไม่มีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องแจ้งให้ผู้ค้ำประกันทราบ.
ฎีกาซึ่งมิได้ยกข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายขึ้นโต้แย้งคัดค้านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์แต่ประการใด เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย แม้ศาลชั้นต้นสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัย.
ฎีกาซึ่งมิได้ยกข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายขึ้นโต้แย้งคัดค้านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์แต่ประการใด เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย แม้ศาลชั้นต้นสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 367/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค้ำประกัน, ความรับผิดของผู้ค้ำประกันร่วม, การปลดหนี้เฉพาะส่วนไม่กระทบความรับผิดของผู้อื่น
ค้ำประกัน ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ว่ามีกำหนดอายุความเท่าใด จึงมีกำหนดอายุความสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่ 1 อีกอัตราหนึ่ง ดังนี้ หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้ แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้น ก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่ เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิง การปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้ หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่ มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่ 1 อีกอัตราหนึ่ง ดังนี้ หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้ แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้น ก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่ เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิง การปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้ หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่ มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 367/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค้ำประกัน - ความรับผิดของผู้ค้ำประกันร่วม - การปลดหนี้เฉพาะบางส่วนไม่กระทบความรับผิดของผู้อื่น
ค้ำประกัน ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ว่ามีกำหนดอายุความเท่าใดจึงมีกำหนดอายุความสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมี
จำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่1 อีกอัตราหนึ่งดังนี้หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้ แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้นก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิงการปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมี
จำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่1 อีกอัตราหนึ่งดังนี้หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้ แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้นก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิงการปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 367/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค้ำประกัน, ความรับผิดของผู้ค้ำประกันร่วม, การปลดหนี้เฉพาะส่วนไม่กระทบความรับผิดของผู้ค้ำประกันอื่น
ค้ำประกัน ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ว่ามีกำหนดอายุความเท่าใด. จึงมีกำหนดอายุความสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164.
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม.
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง. ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่1 อีกอัตราหนึ่ง. ดังนี้ หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่.
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน. จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้. แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้น. ก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่.เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิง. การปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น.
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้. หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่. มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน.
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม.
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง. ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่1 อีกอัตราหนึ่ง. ดังนี้ หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่.
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน. จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้. แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้น. ก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่.เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิง. การปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น.
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้. หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่. มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1056/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาฝึกอบรมรับราชการ: การกระทำผิดวินัยถือเป็นการผิดสัญญา และผู้ค้ำประกันต้องรับผิด
นักเรียนจ่าในสถานศึกษาของกองทัพเรือซึ่งทำสัญญาไว้ว่าเมื่อเรียนสำเร็จ จะต้องรับราชการในสังกัดกองทัพเรือไม่น้อยกว่า 5 ปี. มิฉะนั้นต้องเสียค่าตอบแทน. แม้การที่รับราชการไม่ครบ เป็นเพราะทางราชการสั่งปลด. เนื่องจากกระทำผิดวินัยย่อมถือว่าผู้นั้นกระทำตนเองให้ไม่อาจรับราชการต่อไปได้. จึงต้องใช้ค่าตอบแทนตามสัญญา. กรณีเช่นนี้ถือไม่ได้ว่ากองทัพเรือบอกเลิกสัญญาหรือบอกปัดการชำระหนี้ของลูกหนี้.
เมื่อไม่ปรากฏว่าลูกหนี้ไปอยู่แห่งใดในพระราชอาณาเขต.เจ้าหนี้ย่อมทวงให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ได้.
คดีฟ้องเรียกเงินค่าตอบแทนในการที่นักเรียนจ่ามิได้รับราชการให้ครบกำหนดตามสัญญา. ไม่อยู่ในอายุความ 2 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(11),(12),(13).
กองทัพเรือมีหน้าที่เตรียมกำลังกองทัพเรือและป้องกันราชอาณาจักร. การจัดตั้งสถานศึกษาฝึกคนเตรียมกำลังไว้ย่อมเป็นหน้าที่. การที่กองทัพเรือทำสัญญาผูกมัดบุคคลที่เข้าศึกษาอบรมให้รับราชการในสังกัดตามระยะเวลาที่กำหนด มิฉะนั้นต้องเสียค่าตอบแทน. ทั้งนี้ เพื่อป้องกันความเสียหาย.ย่อมอยู่ในอำนาจของกองทัพเรือ. หาเป็นการนอกขอบเขตแห่งวัตถุที่ประสงค์ไม่.
เมื่อไม่ปรากฏว่าลูกหนี้ไปอยู่แห่งใดในพระราชอาณาเขต.เจ้าหนี้ย่อมทวงให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ได้.
คดีฟ้องเรียกเงินค่าตอบแทนในการที่นักเรียนจ่ามิได้รับราชการให้ครบกำหนดตามสัญญา. ไม่อยู่ในอายุความ 2 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(11),(12),(13).
กองทัพเรือมีหน้าที่เตรียมกำลังกองทัพเรือและป้องกันราชอาณาจักร. การจัดตั้งสถานศึกษาฝึกคนเตรียมกำลังไว้ย่อมเป็นหน้าที่. การที่กองทัพเรือทำสัญญาผูกมัดบุคคลที่เข้าศึกษาอบรมให้รับราชการในสังกัดตามระยะเวลาที่กำหนด มิฉะนั้นต้องเสียค่าตอบแทน. ทั้งนี้ เพื่อป้องกันความเสียหาย.ย่อมอยู่ในอำนาจของกองทัพเรือ. หาเป็นการนอกขอบเขตแห่งวัตถุที่ประสงค์ไม่.