พบผลลัพธ์ทั้งหมด 250 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 168/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้จัดการร้านสหกรณ์ต่อความเสียหายจากการปล่อยปละละเลยในการขายสินค้าและข้อผิดพลาดในการทำบัญชี
จำเลยที่ 1 เป็นผู้จัดการร้านสหกรณ์โจทก์ตามสัญญาจ้างปล่อยปละละเลยให้มีการขายบุหรี่โดยไม่ได้รับชำระราคากรณีดังนี้ต้องถือว่าจำเลยที่ 1 ปฏิบัติหน้าที่ผู้จัดการบกพร่องอย่างร้ายแรงจนเป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหาย จึงเป็นการประพฤติผิดสัญญาจ้าง โจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะบังคับจำนองจากทรัพย์จำนองอันเป็นประกันค่าเสียหายนั้นได้
ร้านสหกรณ์โจทก์ได้จ่ายเงินค่าสินค้าไปแล้ว แต่หาได้มีการลงบัญชีรับสินค้าไว้ไม่ แสดงว่าจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นผู้จัดการอาจไม่ได้นำสินค้าเข้าร้านสหกรณ์ก็ได้ สินค้าบางรายการลงบัญชีจ่ายเงินซ้ำสองครั้ง เงินสดคงเหลือตามบัญชีจึงผิดไปจากความเป็นจริงร้านสหกรณ์โจทก์ย่อมได้รับความเสียหายจากการจัดทำบัญชีขัดกับใบสำคัญ ซึ่งทำให้มีการจ่ายเงินไปโดยไม่มีความจำเป็นจะต้องจ่าย จึงต้องถือว่าจำเลยที่ 1 ปฏิบัติหน้าที่ในเรื่องเหล่านี้อย่างบกพร่องอันจะต้องชดใช้ค่าเสียหายด้วยดุจกันจำเลยที่ 1 จะอ้างว่าเป็นความผิดพลาดของสมุหบัญชีที่ไม่ลงบัญชีให้ถูกต้อง ซึ่งไม่ใช่ความผิดของตนนั้น ย่อมเถียงไม่ขึ้นเพราะเป็นหน้าที่ของจำเลยที่ 1 ที่จะต้องควบคุมสอดส่องการทำบัญชีของร้านสหกรณ์ให้เป็นไปตามข้อบังคับโดยใกล้ชิด
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 733 ไม่ใช่บทบัญญัติแห่งกฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนผู้จำนองอาจตกลงกับผู้รับจำนองเป็นประการอื่นพิเศษนอกเหนือจากที่มาตรา 733 บัญญัติไว้ ก็ย่อมกระทำได้
ร้านสหกรณ์โจทก์ได้จ่ายเงินค่าสินค้าไปแล้ว แต่หาได้มีการลงบัญชีรับสินค้าไว้ไม่ แสดงว่าจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นผู้จัดการอาจไม่ได้นำสินค้าเข้าร้านสหกรณ์ก็ได้ สินค้าบางรายการลงบัญชีจ่ายเงินซ้ำสองครั้ง เงินสดคงเหลือตามบัญชีจึงผิดไปจากความเป็นจริงร้านสหกรณ์โจทก์ย่อมได้รับความเสียหายจากการจัดทำบัญชีขัดกับใบสำคัญ ซึ่งทำให้มีการจ่ายเงินไปโดยไม่มีความจำเป็นจะต้องจ่าย จึงต้องถือว่าจำเลยที่ 1 ปฏิบัติหน้าที่ในเรื่องเหล่านี้อย่างบกพร่องอันจะต้องชดใช้ค่าเสียหายด้วยดุจกันจำเลยที่ 1 จะอ้างว่าเป็นความผิดพลาดของสมุหบัญชีที่ไม่ลงบัญชีให้ถูกต้อง ซึ่งไม่ใช่ความผิดของตนนั้น ย่อมเถียงไม่ขึ้นเพราะเป็นหน้าที่ของจำเลยที่ 1 ที่จะต้องควบคุมสอดส่องการทำบัญชีของร้านสหกรณ์ให้เป็นไปตามข้อบังคับโดยใกล้ชิด
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 733 ไม่ใช่บทบัญญัติแห่งกฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนผู้จำนองอาจตกลงกับผู้รับจำนองเป็นประการอื่นพิเศษนอกเหนือจากที่มาตรา 733 บัญญัติไว้ ก็ย่อมกระทำได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 168/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้จัดการร้านสหกรณ์ต่อความเสียหายจากหน้าที่บกพร่อง และขอบเขตการบังคับจำนอง
จำเลยที่ 1 เป็นผู้จัดการร้านสหกรณ์โจทก์ตามสัญญาจ้าง ปล่อยปละละเลยให้มีการขายบุหรี่โดยไม่ได้รับชำระราคา กรณีดังนี้ต้องถือว่าจำเลยที่ 1 ปฏิบัติหน้าที่ผู้จัดการบกพร่องอย่างร้ายแรงจนเป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหาย จึงเป็นการประพฤติผิดสัญญาจ้าง โจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะบังคับจำนองจากทรัพย์จำนองอันเป็นประกันค่าเสียหายนั้นได้
ร้านสหกรณ์โจทก์ได้จ่ายเงินค่าสินค้าไปแล้วแต่หาได้มีการลงบัญชีรับสินค้าไว้ไม่ แสดงว่าจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นผู้จัดการอาจไม่ได้นำสินค้าเข้าร้านสหกรณ์ก็ได้ สินค้าบางรายการลงบัญชีจ่ายเงินซ้ำสองครั้ง เงินสดคงเหลือตามบัญชีจึงผิดไปจากความเป็นจริงร้านสหกรณ์โจทก์ย่อมได้รับความเสียหายจากการจัดทำบัญชีขัดกับใบสำคัญ ซึ่งทำให้มีการจ่ายเงินไปโดยไม่มีความจำเป็นจะต้องจ่ายจึงต้องถือว่าจำเลยที่ 1 ปฏิบัติหน้าที่ในเรื่องเหล่านี้อย่างบกพร่องอันจะต้องชดใช้ค่าเสียหายด้วยดุจกัน จำเลยที่ 1 จะอ้างว่าเป็นความผิดพลาดของสมุหบัญชีที่ไม่ลงบัญชีให้ถูกต้อง ซึ่งไม่ใช่ความผิดของตนนั้นย่อมเถียงไม่ขึ้นเพราะเป็นหน้าที่ของจำเลยที่ 1 ที่จะต้องควบคุมสอดส่องการทำบัญชีของร้านสหกรณ์ให้เป็นไปตามข้อบังคับโดยใกล้ชิด
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 733 ไม่ใช่บทบัญญัติแห่งกฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ผู้จำนองอาจตกลงกับผู้รับจำนองเป็นประการอื่นพิเศษนอกเหนือจากที่มาตรา 733 บัญญัติไว้ ก็ย่อมกระทำได้
ร้านสหกรณ์โจทก์ได้จ่ายเงินค่าสินค้าไปแล้วแต่หาได้มีการลงบัญชีรับสินค้าไว้ไม่ แสดงว่าจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นผู้จัดการอาจไม่ได้นำสินค้าเข้าร้านสหกรณ์ก็ได้ สินค้าบางรายการลงบัญชีจ่ายเงินซ้ำสองครั้ง เงินสดคงเหลือตามบัญชีจึงผิดไปจากความเป็นจริงร้านสหกรณ์โจทก์ย่อมได้รับความเสียหายจากการจัดทำบัญชีขัดกับใบสำคัญ ซึ่งทำให้มีการจ่ายเงินไปโดยไม่มีความจำเป็นจะต้องจ่ายจึงต้องถือว่าจำเลยที่ 1 ปฏิบัติหน้าที่ในเรื่องเหล่านี้อย่างบกพร่องอันจะต้องชดใช้ค่าเสียหายด้วยดุจกัน จำเลยที่ 1 จะอ้างว่าเป็นความผิดพลาดของสมุหบัญชีที่ไม่ลงบัญชีให้ถูกต้อง ซึ่งไม่ใช่ความผิดของตนนั้นย่อมเถียงไม่ขึ้นเพราะเป็นหน้าที่ของจำเลยที่ 1 ที่จะต้องควบคุมสอดส่องการทำบัญชีของร้านสหกรณ์ให้เป็นไปตามข้อบังคับโดยใกล้ชิด
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 733 ไม่ใช่บทบัญญัติแห่งกฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ผู้จำนองอาจตกลงกับผู้รับจำนองเป็นประการอื่นพิเศษนอกเหนือจากที่มาตรา 733 บัญญัติไว้ ก็ย่อมกระทำได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3015/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
บันทึกข้อตกลงผ่อนชำระหนี้เช็ค ไม่ถือเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ สิทธิเรียกร้องตามเช็คยังคงมีอยู่
บันทึกของพนักงานสอบสวนมีความว่า "ต่อมาในวันนี้....... ได้เรียกนายฮั่งตัง แซ่อึ้ง (คือจำเลยที่ 1) พร้อมกับนายไพบูลย์ แสงเจริญตระกูล (คือโจทก์) ทั้งสองฝ่ายมาสถานีตำรวจนครบาลพระโขนง 1 ทำการสอบสวนข้อเท็จจริงแล้วทางฝ่ายนายฮั่งตัง แซ่อึ้ง ได้รับว่าตนได้ขอยืมเงินสด จำนวน 50,000 บาท จากนายไพบูลย์ แสงเจริญตระกูล ไปจริงและได้ออกเช็คของธนาคารไทยพัฒนาทั้งสองฉบับ....... ไว้เป็นหลักค้ำประกันเงินที่ขอยืมไปจริง ในวันนี้ได้ทำการตกลงกันได้ความว่าทางฝ่ายนายฮั่งตัง แซ่อึ้ง ยินยอมผ่อนชำระ ให้เป็นรายเดือน เดือนละ 2,000 บาท โดยจะนำเงินมาชำระให้ในวันที่ 15 ของทุก ๆ เดือนจนกว่าจะหมดจำนวน เงินที่ค้างอยู่ เห็นว่าทั้งสองฝ่ายตกลงกันได้จึงได้จัดทำบันทึกไว้เป็นหลักฐาน" ดังนี้ หาเข้าลักษณะเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความไม่ เพราะมิได้กล่าวถึงการคืนเช็คหรือยกเลิกเพิกถอนเช็ค เป็นเพียงความตกลงในการผ่อนชำระหนี้ตามเช็คเท่านั้น สิทธิและความรับผิดชอบระหว่างโจทก์และจำเลยที่ 1 ตามเช็คนั้นยังคงมีอยู่หาได้ระงับสิ้นไปไม่ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องขอให้จำเลยที่ 1 ใช้เงินตามเช็คทั้งสองฉบับได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3015/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความต้องมีเจตนาคืนเช็ค การผ่อนชำระหนี้ตามเช็คไม่ใช่การระงับหนี้
บันทึกของพนักงานสอบสวนมีความว่า 'ต่อมาในวันนี้ ได้เรียกนายฮั่งตังแซ่อึ้ง (คือจำเลยที่ 1) พร้อมกับนายไพบูลย์แสงเจริญตระกูล (คือโจทก์) ทั้งสองฝ่ายมา สถานีตำรวจนครบาลพระโขนง 1 ทำการสอบสวนข้อเท็จจริงแล้วทางฝ่ายนายฮั่งตังแซ่อึ้ง ได้รับว่าตนได้ขอยืมเงินสด จำนวน 50,000 บาท จากนายไพบูลย์แสงเจริญตระกูล ไปจริงและได้ออกเช็คของธนาคารไทยพัฒนาทั้งสองฉบับ ไว้เป็นหลักค้ำประกันเงินที่ขอยืมไปจริง ในวันนี้ได้ทำการตกลงกันได้ความว่า ทางฝ่ายนายฮั่งตัง แซ่อึ้ง ยินยอมผ่อนชำระให้เป็นรายเดือน เดือนละ2,000 บาท โดยจะนำเงินมาชำระให้ในวันที่ 15 ของทุก ๆ เดือน จนกว่าจะหมดจำนวนเงินที่ค้างอยู่ เห็นว่าทั้งสองฝ่ายตกลงกันได้ จึงได้จัดทำบันทึกไว้เป็นหลักฐาน' ดังนี้ หาเข้าลักษณะเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความไม่ เพราะมิได้กล่าวถึงการคืนเช็คหรือยกเลิกเพิกถอนเช็ค เป็นเพียงความตกลงในการผ่อนชำระหนี้ตามเช็คเท่านั้น สิทธิและความรับผิดชอบระหว่างโจทก์และจำเลยที่ 1 ตามเช็คนั้นยังคงมีอยู่หาได้ระงับสิ้นไปไม่ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องขอให้จำเลยที่ 1 ใช้เงินตามเช็คทั้งสองฉบับได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2982/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์: ข้อยกเว้นค่าขาดประโยชน์ vs. หน้าที่เร่งรัดซ่อมแซม & การประพฤติผิดสัญญา
โจทก์ได้ประกันภัยรถยนต์ไว้กับจำเลย ต่อมารถยนต์คันที่เอาประกันภัยเกิดอุบัติเหตุถูกชนเสียหายมากชำรุดใช้การไม่ได้ ปัญหาที่ว่าจำเลยจะต้องชดใช้ค่าที่โจทก์ขาดประโยชน์ในการให้เช่ารถระหว่างรถเข้าอู่ซ่อมเพียงไรหรือไม่นั้น เมื่อปรากฏตามสำเนากรมธรรม์ท้ายฟ้องตรงกับคู่ฉบับกรมธรรม์ที่จำเลยอ้างระบุข้อยกเว้นความรับผิดของจำเลยไว้ว่าไม่ต้องผูกพันรับผิดต่อสิทธิเรียกร้องใดๆอันเกี่ยวกับการขาดประโยชน์ ผลจึงเท่ากับโจทก์ผู้เอาประกันภัยยอมรับตามเงื่อนไขในกรมธรรม์ สละสิทธิเรียกร้องในเหตุดังกล่าวแล้วโจทก์จึงไม่อาจเรียกร้องให้จำเลยรับผิดในค่าขาดประโยชน์ในการให้เช่ารถของโจทก์ได้ และปัญหาข้อนี้ไม่จำต้องวินิจฉัยจากการสืบพยานจำเลยเพราะอาจวินิจฉัยได้ตามความในเอกสารกรมธรรม์อยู่แล้ว
ตามกรมธรรม์ระบุไว้ว่า ในกรณียานยนต์เสียหาย จำเลยผูกพันรับผิดเพียงที่จะต้องซ่อมให้ ณ โรงซ่อมที่จำเลยเห็นสมควรจนอยู่ในสภาพใช้การได้ จำเลยได้จัดสรรอู่ซ่อมรถให้โจทก์แล้วตามใบสั่งซ่อมมีหมายเหตุว่า ใบสั่งซ่อมนี้กำหนดใช้ภายใน 60 วันนับแต่วันสั่งซ่อม จำเลยจึงมีหน้าที่เร่งรัดให้ซ่อมรถโจทก์ให้เสร็จเรียบร้อยภายใน 60 วันตามที่หมายเหตุไว้ เมื่อจำเลยเพิกเฉยเสียปล่อยให้อู่ทำการซ่อมชักช้า และไม่จัดการเลิกจ้างแล้วเปลี่ยนอู่ซ่อมให้ใหม่ทำให้โจทก์ต้องเสียประโยชน์ต้องถือว่าจำเลยประพฤติผิดสัญญาแล้ว ชอบที่โจทก์จะนำรถไปให้อู่แห่งอื่นซ่อมแล้วเรียกร้องให้จำเลยใช้ค่าซ่อมให้เพราะเงื่อนไขดังกล่าวไม่เป็นการตัดสิทธิโจทก์ที่จะป้องกันสิทธิของตน แต่โจทก์จะเรียกร้องเอาค่าขาดประโยชน์หาได้ไม่เพราะเป็นสิทธิเรียกร้องที่ไม่อาจบังคับเอาแก่จำเลยได้ตามกรมธรรม์
ตามกรมธรรม์ระบุไว้ว่า ในกรณียานยนต์เสียหาย จำเลยผูกพันรับผิดเพียงที่จะต้องซ่อมให้ ณ โรงซ่อมที่จำเลยเห็นสมควรจนอยู่ในสภาพใช้การได้ จำเลยได้จัดสรรอู่ซ่อมรถให้โจทก์แล้วตามใบสั่งซ่อมมีหมายเหตุว่า ใบสั่งซ่อมนี้กำหนดใช้ภายใน 60 วันนับแต่วันสั่งซ่อม จำเลยจึงมีหน้าที่เร่งรัดให้ซ่อมรถโจทก์ให้เสร็จเรียบร้อยภายใน 60 วันตามที่หมายเหตุไว้ เมื่อจำเลยเพิกเฉยเสียปล่อยให้อู่ทำการซ่อมชักช้า และไม่จัดการเลิกจ้างแล้วเปลี่ยนอู่ซ่อมให้ใหม่ทำให้โจทก์ต้องเสียประโยชน์ต้องถือว่าจำเลยประพฤติผิดสัญญาแล้ว ชอบที่โจทก์จะนำรถไปให้อู่แห่งอื่นซ่อมแล้วเรียกร้องให้จำเลยใช้ค่าซ่อมให้เพราะเงื่อนไขดังกล่าวไม่เป็นการตัดสิทธิโจทก์ที่จะป้องกันสิทธิของตน แต่โจทก์จะเรียกร้องเอาค่าขาดประโยชน์หาได้ไม่เพราะเป็นสิทธิเรียกร้องที่ไม่อาจบังคับเอาแก่จำเลยได้ตามกรมธรรม์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2982/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์: ข้อยกเว้นค่าขาดประโยชน์ vs. ความรับผิดสัญญาซ่อมแซมชำรุด
โจทก์ได้ประกันภัยรถยนต์ไว้กับจำเลย ต่อมารถยนต์คันที่เอาประกันภัยเกิดอุบัติเหตุถูกชนเสียหายมากชำรุดใช้การไม่ได้ ปัญหาที่ว่าจำเลยจะต้องชดใช้ค่าที่โจทก์ขาดประโยชน์ในการให้เช่ารถระหว่างรถเข้าอู่ซ่อมเพียงไรหรือไม่นั้น เมื่อปรากฏตามสำเนากรมธรรม์ท้ายฟ้องตรงกับคู่ฉบับกรมธรรม์ที่จำเลยอ้างระบุข้อยกเว้นความรับผิดของจำเลยไว้ว่าไม่ต้องผูกพันรับผิดต่อสิทธิเรียกร้องใดๆอันเกี่ยวกับการขาดประโยชน์ ผลจึงเท่ากับโจทก์ผู้เอาประกันภัยยอมรับตามเงื่อนไขในกรมธรรม์ สละสิทธิเรียกร้องในเหตุดังกล่าวแล้ว โจทก์จึงไม่อาจเรียกร้องให้จำเลยรับผิดในค่าขาดประโยชน์ในการให้เช่ารถของโจทก์ได้ และปัญหาข้อนี้ไม่จำต้องวินิจฉัยจากการสืบพยานจำเลยเพราะอาจวินิจฉัยได้ตามความในเอกสารกรมธรรม์อยู่แล้ว
ตามกรมธรรม์ระบุไว้ว่า ในกรณียานยนต์เสียหาย จำเลยผูกพันรับผิดเพียงที่จะต้องซ่อมให้ ณ โรงซ่อมที่จำเลยเห็นสมควรจนอยู่ในสภาพใช้การได้ จำเลยได้จัดสรรอู่ซ่อมรถให้โจทก์แล้วตามใบสั่งซ่อมมีหมายเหตุว่า ใบสั่งซ่อมนี้กำหนดใช้ภายใน 60 วันนับแต่วันสั่งซ่อม จำเลยจึงมีหน้าที่เร่งรัดให้ซ่อมรถโจทก์ให้เสร็จเรียบร้อยภายใน 60 วันตามที่หมายเหตุไว้ เมื่อจำเลยเพิกเฉยเสียปล่อยให้อู่ทำการซ่อมชักช้า และไม่จัดการเลิกจ้างแล้วเปลี่ยนอู่ซ่อมให้ใหม่ทำให้โจทก์ต้องเสียประโยชน์ ต้องถือว่าจำเลยประพฤติผิดสัญญาแล้ว ชอบที่โจทก์จะนำรถไปให้อู่แห่งอื่นซ่อมแล้วเรียกร้องให้จำเลยใช้ค่าซ่อมให้ เพราะเงื่อนไขดังกล่าวไม่เป็นการตัดสิทธิโจทก์ที่จะป้องกันสิทธิของตน แต่โจทก์จะเรียกร้องเอาค่าขาดประโยชน์หาได้ไม่เพราะเป็นสิทธิเรียกร้องที่ไม่อาจบังคับเอาแก่จำเลยได้ตามกรมธรรม์
ตามกรมธรรม์ระบุไว้ว่า ในกรณียานยนต์เสียหาย จำเลยผูกพันรับผิดเพียงที่จะต้องซ่อมให้ ณ โรงซ่อมที่จำเลยเห็นสมควรจนอยู่ในสภาพใช้การได้ จำเลยได้จัดสรรอู่ซ่อมรถให้โจทก์แล้วตามใบสั่งซ่อมมีหมายเหตุว่า ใบสั่งซ่อมนี้กำหนดใช้ภายใน 60 วันนับแต่วันสั่งซ่อม จำเลยจึงมีหน้าที่เร่งรัดให้ซ่อมรถโจทก์ให้เสร็จเรียบร้อยภายใน 60 วันตามที่หมายเหตุไว้ เมื่อจำเลยเพิกเฉยเสียปล่อยให้อู่ทำการซ่อมชักช้า และไม่จัดการเลิกจ้างแล้วเปลี่ยนอู่ซ่อมให้ใหม่ทำให้โจทก์ต้องเสียประโยชน์ ต้องถือว่าจำเลยประพฤติผิดสัญญาแล้ว ชอบที่โจทก์จะนำรถไปให้อู่แห่งอื่นซ่อมแล้วเรียกร้องให้จำเลยใช้ค่าซ่อมให้ เพราะเงื่อนไขดังกล่าวไม่เป็นการตัดสิทธิโจทก์ที่จะป้องกันสิทธิของตน แต่โจทก์จะเรียกร้องเอาค่าขาดประโยชน์หาได้ไม่เพราะเป็นสิทธิเรียกร้องที่ไม่อาจบังคับเอาแก่จำเลยได้ตามกรมธรรม์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2754/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรอการลงโทษเบากว่าโทษกักขัง ศาลอุทธรณ์แก้คำพิพากษาได้โดยไม่เพิ่มโทษ
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้ลงโทษจำคุกและปรับจำเลยแต่โทษจำคุกให้เปลี่ยนเป็นโทษกักขังแทน การที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้คำพิพากษาศาลชั้นต้นเป็นไม่เปลี่ยนโทษจำคุกเป็นกักขังและให้รอการลงโทษจำเลยไว้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56นั้นไม่เป็นการเพิ่มเติมโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 212 เพราะการรอการลงโทษยังไม่ต้องรับโทษจึงเบากว่าโทษกักขัง
(วินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2517)
(วินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2517)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2754/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรอการลงโทษเบากว่าโทษกักขัง ศาลอุทธรณ์แก้ไขคำพิพากษาได้
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้ลงโทษจำคุกและปรับจำเลย แต่โทษจำคุกให้เปลี่ยนเป็นโทษกักขังแทน การที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้คำพิพากษาศาลชั้นต้นเป็นไม่เปลี่ยนโทษจำคุกเป็นกักขังและให้รอการลงโทษจำเลยไว้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56นั้น ไม่เป็นการเพิ่มเติมโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 212 เพราะการรอการลงโทษยังไม่ต้องรับโทษจึงเบากว่าโทษกักขัง
(วินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2517)
(วินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2517)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2733/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องที่ดินจากสัญญาประนีประนอมยอมความ และการฟ้องซ้ำ
จำเลยมีชื่อเป็นผู้ถือสิทธิในที่ดินพิพาท ต่อมาโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันแบ่งที่ดินพิพาทนี้ โดยระบุว่าเป็นทรัพย์มรดก จำเลยจะแบ่งให้โจทก์ตามส่วนและข้อตกลงเมื่อโอนให้โจทก์แล้ว โจทก์จะต้องแบ่งให้บุตร4 คนของโจทก์ครึ่งหนึ่งของที่ดินที่โจทก์ได้รับ โจทก์จำเลยตกลงจะไปโอนที่ดินภายใน 30 วันนับแต่วันทำสัญญาและบุตรโจทก์ 4 คนนั้นต้องชำระเงินให้จำเลย 2,000 บาท จำเลยจึงจะโอนให้ตามกำหนดโจทก์ได้ฟ้องจำเลยเป็นคดีแรกขอให้ศาลบังคับให้จำเลยโอนที่พิพาทให้ตามสัญญา คดีนั้นศาลฎีกาได้วินิจฉัยในประเด็นที่ว่าสัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความหรือว่าสัญญาให้ และวินิจฉัยว่าเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความที่เป็นสัญญาต่างตอบแทนซึ่งฝ่ายโจทก์ยังมิได้ปฏิบัติการชำระหนี้ ก็จะฟ้องบังคับให้จำเลยโอนที่พิพาทให้โจทก์ไม่ได้โจทก์จึงมาฟ้องจำเลยใหม่เป็นคดีนี้ว่าโจทก์ได้เสนอจะปฏิบัติการชำระหนี้แล้วขอให้บังคับให้จำเลยรับเงินและโอนที่พิพาทให้โจทก์ อันมีประเด็นโต้เถียงกันว่ากรณีเช่นนี้จำเลยจะต้องโอนที่พิพาทให้โจทก์เพียงใดหรือไม่จึงมิใช่ประเด็นที่ได้วินิจฉัยแล้ว ไม่เป็นฟ้องซ้ำ
การที่จำเลยตกลงทำสัญญาดังกล่าวกับโจทก์นั้น เห็นได้ว่าจำเลยมีเจตนาจะแบ่งที่พิพาทให้บุตรโจทก์คือ น.และผู้ร้องสอดทั้งสามซึ่งเป็นบุคคลนอกสัญญาด้วย และได้ความว่าผู้ร้องสอดทั้งสามได้แสดงเจตนาที่จะรับที่ดินส่วนที่จำเลยแบ่งให้แล้ว ผู้ร้องสอดทั้งสามจึงมีสิทธิร้องสอดเข้ามาเรียกร้องให้จำเลยโอนที่ดินส่วนของตนได้โดยตรงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 โจทก์จะอ้างว่าจำเลยต้องโอนที่พิพาทให้โจทก์ผู้เดียวก่อนหาได้ไม่ และคำร้องสอดเช่นว่านี้เป็นกรณีขอให้บังคับจำเลยตามสัญญา มิได้ขอให้บังคับโจทก์แต่อย่างใดจึงมิใช่เป็นการฟ้องโจทก์ ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1534
กำหนดเวลาตามสัญญาดังกล่าวนั้น มีความหมายที่จะให้จำเลยปฏิบัติการโอนที่ดินให้โจทก์ภายในเวลา 30 วัน ส่วนข้อความตอนท้ายที่จะให้บุตรโจทก์ชำระเงินตอบแทนนั้น ก็มีความหมายเพียงว่าหากบุตรโจทก์ไม่ชำระเงิน จำเลยก็ยังไม่ต้องโอนที่ดินให้ตามกำหนดกำหนดเวลาตามสัญญานี้จึงมิใช่ข้อที่คู่สัญญาตกลงให้ฝ่ายโจทก์ชำระเงินภายใน 30 วัน การที่โจทก์เสนอชำระเงินภายหลังจึงไม่เป็นการผิดสัญญาและเมื่อโจทก์และผู้ร้องสอดได้ขอชำระเงิน2,000 บาทให้จำเลยแล้ว จำเลยก็ต้องโอนที่ดินให้โจทก์และผู้ร้องสอด
ตามนัยของสัญญา น.และผู้ร้องสอดทั้งสามซึ่งเป็นบุตรโจทก์มีสิทธิได้รับส่วนแบ่งคนละ 1 ใน 4 ของครึ่งหนึ่งของที่พิพาทบุตรโจทก์แต่ละคนจึงต่างก็มีสิทธิเรียกร้องเอาส่วนของตนจากจำเลยได้เมื่อมีคนใดไม่ใช้สิทธิของตนหรือแสดงเจตนาสละสิทธิของตนย่อมไม่เป็นเหตุให้ผู้มีสิทธิคนอื่นจะไปใช้สิทธิให้นอกเหนือไปจากสัญญาได้ผู้ร้องสอดจะอ้างว่าพวกตน 3 คนควรได้รับส่วนแบ่งรวมกันเป็นครึ่งหนึ่งของส่วนที่จำเลยจะต้องโอนให้หาได้ไม่
การที่จำเลยตกลงทำสัญญาดังกล่าวกับโจทก์นั้น เห็นได้ว่าจำเลยมีเจตนาจะแบ่งที่พิพาทให้บุตรโจทก์คือ น.และผู้ร้องสอดทั้งสามซึ่งเป็นบุคคลนอกสัญญาด้วย และได้ความว่าผู้ร้องสอดทั้งสามได้แสดงเจตนาที่จะรับที่ดินส่วนที่จำเลยแบ่งให้แล้ว ผู้ร้องสอดทั้งสามจึงมีสิทธิร้องสอดเข้ามาเรียกร้องให้จำเลยโอนที่ดินส่วนของตนได้โดยตรงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 โจทก์จะอ้างว่าจำเลยต้องโอนที่พิพาทให้โจทก์ผู้เดียวก่อนหาได้ไม่ และคำร้องสอดเช่นว่านี้เป็นกรณีขอให้บังคับจำเลยตามสัญญา มิได้ขอให้บังคับโจทก์แต่อย่างใดจึงมิใช่เป็นการฟ้องโจทก์ ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1534
กำหนดเวลาตามสัญญาดังกล่าวนั้น มีความหมายที่จะให้จำเลยปฏิบัติการโอนที่ดินให้โจทก์ภายในเวลา 30 วัน ส่วนข้อความตอนท้ายที่จะให้บุตรโจทก์ชำระเงินตอบแทนนั้น ก็มีความหมายเพียงว่าหากบุตรโจทก์ไม่ชำระเงิน จำเลยก็ยังไม่ต้องโอนที่ดินให้ตามกำหนดกำหนดเวลาตามสัญญานี้จึงมิใช่ข้อที่คู่สัญญาตกลงให้ฝ่ายโจทก์ชำระเงินภายใน 30 วัน การที่โจทก์เสนอชำระเงินภายหลังจึงไม่เป็นการผิดสัญญาและเมื่อโจทก์และผู้ร้องสอดได้ขอชำระเงิน2,000 บาทให้จำเลยแล้ว จำเลยก็ต้องโอนที่ดินให้โจทก์และผู้ร้องสอด
ตามนัยของสัญญา น.และผู้ร้องสอดทั้งสามซึ่งเป็นบุตรโจทก์มีสิทธิได้รับส่วนแบ่งคนละ 1 ใน 4 ของครึ่งหนึ่งของที่พิพาทบุตรโจทก์แต่ละคนจึงต่างก็มีสิทธิเรียกร้องเอาส่วนของตนจากจำเลยได้เมื่อมีคนใดไม่ใช้สิทธิของตนหรือแสดงเจตนาสละสิทธิของตนย่อมไม่เป็นเหตุให้ผู้มีสิทธิคนอื่นจะไปใช้สิทธิให้นอกเหนือไปจากสัญญาได้ผู้ร้องสอดจะอ้างว่าพวกตน 3 คนควรได้รับส่วนแบ่งรวมกันเป็นครึ่งหนึ่งของส่วนที่จำเลยจะต้องโอนให้หาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2733/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ผู้รับผลประโยชน์มีสิทธิได้รับส่วนแบ่งตามสัญญา แม้จะยังมิได้ชำระหนี้
จำเลยมีชื่อเป็นผู้ถือสิทธิในที่ดินพิพาท ต่อมาโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันแบ่งที่ดินพิพาทนี้ โดยระบุว่าเป็นทรัพย์มรดก จำเลยจะแบ่งให้โจทก์ตามส่วนและข้อตกลง เมื่อโอนให้โจทก์แล้ว โจทก์จะต้องแบ่งให้บุตร4 คนของโจทก์ครึ่งหนึ่งของที่ดินที่โจทก์ได้รับ โจทก์จำเลยตกลงจะไปโอนที่ดินภายใน 30 วันนับแต่วันทำสัญญาและบุตรโจทก์ 4 คนนั้นต้องชำระเงินให้จำเลย 2,000 บาท จำเลยจึงจะโอนให้ตามกำหนด โจทก์ได้ฟ้องจำเลยเป็นคดีแรกขอให้ศาลบังคับให้จำเลยโอนที่พิพาทให้ตามสัญญา คดีนั้นศาลฎีกาได้วินิจฉัยในประเด็นที่ว่าสัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความหรือว่าสัญญาให้ และวินิจฉัยว่าเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความที่เป็นสัญญาต่างตอบแทนซึ่งฝ่ายโจทก์ยังมิได้ปฏิบัติการชำระหนี้ ก็จะฟ้องบังคับให้จำเลยโอนที่พิพาทให้โจทก์ไม่ได้โจทก์จึงมาฟ้องจำเลยใหม่เป็นคดีนี้ว่าโจทก์ได้เสนอจะปฏิบัติการชำระหนี้แล้ว ขอให้บังคับให้จำเลยรับเงินและโอนที่พิพาทให้โจทก์ อันมีประเด็นโต้เถียงกันว่ากรณีเช่นนี้จำเลยจะต้องโอนที่พิพาทให้โจทก์เพียงใดหรือไม่จึงมิใช่ประเด็นที่ได้วินิจฉัยแล้ว ไม่เป็นฟ้องซ้ำ
การที่จำเลยตกลงทำสัญญาดังกล่าวกับโจทก์นั้น เห็นได้ว่าจำเลยมีเจตนาจะแบ่งที่พิพาทให้บุตรโจทก์คือ น.และผู้ร้องสอดทั้งสามซึ่งเป็นบุคคลนอกสัญญาด้วย และได้ความว่าผู้ร้องสอดทั้งสามได้แสดงเจตนาที่จะรับที่ดินส่วนที่จำเลยแบ่งให้แล้ว ผู้ร้องสอดทั้งสามจึงมีสิทธิร้องสอดเข้ามาเรียกร้องให้จำเลยโอนที่ดินส่วนของตนได้โดยตรงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 โจทก์จะอ้างว่าจำเลยต้องโอนที่พิพาทให้โจทก์ผู้เดียวก่อนหาได้ไม่ และคำร้องสอดเช่นว่านี้เป็นกรณีขอให้บังคับจำเลยตามสัญญา มิได้ขอให้บังคับโจทก์แต่อย่างใดจึงมิใช่เป็นการฟ้องโจทก์ ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1534
กำหนดเวลาตามสัญญาดังกล่าวนั้น มีความหมายที่จะให้จำเลยปฏิบัติการโอนที่ดินให้โจทก์ภายในเวลา 30 วัน ส่วนข้อความตอนท้ายที่จะให้บุตรโจทก์ชำระเงินตอบแทนนั้น ก็มีความหมายเพียงว่าหากบุตรโจทก์ไม่ชำระเงิน จำเลยก็ยังไม่ต้องโอนที่ดินให้ตามกำหนดกำหนดเวลาตามสัญญานี้จึงมิใช่ข้อที่คู่สัญญาตกลงให้ฝ่ายโจทก์ชำระเงินภายใน 30 วันการที่โจทก์เสนอชำระเงินภายหลังจึงไม่เป็นการผิดสัญญาและเมื่อโจทก์และผู้ร้องสอดได้ขอชำระเงิน 2,000 บาทให้จำเลยแล้ว จำเลยก็ต้องโอนที่ดินให้โจทก์และผู้ร้องสอด
ตามนัยของสัญญา น.และผู้ร้องสอดทั้งสามซึ่งเป็นบุตรโจทก์มีสิทธิได้รับส่วนแบ่งคนละ 1 ใน 4 ของครึ่งหนึ่งของที่พิพาท บุตรโจทก์แต่ละคนจึงต่างก็มีสิทธิเรียกร้องเอาส่วนของตนจากจำเลยได้ เมื่อมีคนใดไม่ใช้สิทธิของตนหรือแสดงเจตนาสละสิทธิของตน ย่อมไม่เป็นเหตุให้ผู้มีสิทธิคนอื่นจะไปใช้สิทธิให้นอกเหนือไปจากสัญญาได้ผู้ร้องสอดจะอ้างว่าพวกตน 3 คนควรได้รับส่วนแบ่งรวมกันเป็นครึ่งหนึ่งของส่วนที่จำเลยจะต้องโอนให้หาได้ไม่
การที่จำเลยตกลงทำสัญญาดังกล่าวกับโจทก์นั้น เห็นได้ว่าจำเลยมีเจตนาจะแบ่งที่พิพาทให้บุตรโจทก์คือ น.และผู้ร้องสอดทั้งสามซึ่งเป็นบุคคลนอกสัญญาด้วย และได้ความว่าผู้ร้องสอดทั้งสามได้แสดงเจตนาที่จะรับที่ดินส่วนที่จำเลยแบ่งให้แล้ว ผู้ร้องสอดทั้งสามจึงมีสิทธิร้องสอดเข้ามาเรียกร้องให้จำเลยโอนที่ดินส่วนของตนได้โดยตรงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 โจทก์จะอ้างว่าจำเลยต้องโอนที่พิพาทให้โจทก์ผู้เดียวก่อนหาได้ไม่ และคำร้องสอดเช่นว่านี้เป็นกรณีขอให้บังคับจำเลยตามสัญญา มิได้ขอให้บังคับโจทก์แต่อย่างใดจึงมิใช่เป็นการฟ้องโจทก์ ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1534
กำหนดเวลาตามสัญญาดังกล่าวนั้น มีความหมายที่จะให้จำเลยปฏิบัติการโอนที่ดินให้โจทก์ภายในเวลา 30 วัน ส่วนข้อความตอนท้ายที่จะให้บุตรโจทก์ชำระเงินตอบแทนนั้น ก็มีความหมายเพียงว่าหากบุตรโจทก์ไม่ชำระเงิน จำเลยก็ยังไม่ต้องโอนที่ดินให้ตามกำหนดกำหนดเวลาตามสัญญานี้จึงมิใช่ข้อที่คู่สัญญาตกลงให้ฝ่ายโจทก์ชำระเงินภายใน 30 วันการที่โจทก์เสนอชำระเงินภายหลังจึงไม่เป็นการผิดสัญญาและเมื่อโจทก์และผู้ร้องสอดได้ขอชำระเงิน 2,000 บาทให้จำเลยแล้ว จำเลยก็ต้องโอนที่ดินให้โจทก์และผู้ร้องสอด
ตามนัยของสัญญา น.และผู้ร้องสอดทั้งสามซึ่งเป็นบุตรโจทก์มีสิทธิได้รับส่วนแบ่งคนละ 1 ใน 4 ของครึ่งหนึ่งของที่พิพาท บุตรโจทก์แต่ละคนจึงต่างก็มีสิทธิเรียกร้องเอาส่วนของตนจากจำเลยได้ เมื่อมีคนใดไม่ใช้สิทธิของตนหรือแสดงเจตนาสละสิทธิของตน ย่อมไม่เป็นเหตุให้ผู้มีสิทธิคนอื่นจะไปใช้สิทธิให้นอกเหนือไปจากสัญญาได้ผู้ร้องสอดจะอ้างว่าพวกตน 3 คนควรได้รับส่วนแบ่งรวมกันเป็นครึ่งหนึ่งของส่วนที่จำเลยจะต้องโอนให้หาได้ไม่