พบผลลัพธ์ทั้งหมด 134 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 535/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองปศุสัตว์หลงหายและการแจ้งความเท็จ กรณีลักทรัพย์ปศุสัตว์
โคของผู้เสียหายติดเข้าไปอยู่ในฝูงโคของจำเลย แยกไม่ออก ผู้เสียหายจึงสั่งจำเลยขอให้ดูไว้ด้วย
การพูดเช่นนี้จะถือว่าเป็นการรับมอบหมาย อันจะกลายเป็นผิดฐานยักยอกยังไม่ได้
ที่สุดเมื่อจำเลยกับพวกพาเอาโคของผู้เสียหายไป จึงมีความผิดฐานลักปศุสัตว์ตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 294
แต่เนื่องจากประมวลกฎหมายที่ใช้อยู่บัดนี้ ไม่มีบัญญัติถึงการลักปศุสัตว์และสัตว์พาหนะโดยเฉพาะเช่นในมาตรา 294(กฎหมายอาญา)จึงต้องใช้มาตรา 293(กฎหมายอาญา) ซึ่งมีอัตราโทษเบากว่าเป็นบทลงโทษจำเลย
การพูดเช่นนี้จะถือว่าเป็นการรับมอบหมาย อันจะกลายเป็นผิดฐานยักยอกยังไม่ได้
ที่สุดเมื่อจำเลยกับพวกพาเอาโคของผู้เสียหายไป จึงมีความผิดฐานลักปศุสัตว์ตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 294
แต่เนื่องจากประมวลกฎหมายที่ใช้อยู่บัดนี้ ไม่มีบัญญัติถึงการลักปศุสัตว์และสัตว์พาหนะโดยเฉพาะเช่นในมาตรา 294(กฎหมายอาญา)จึงต้องใช้มาตรา 293(กฎหมายอาญา) ซึ่งมีอัตราโทษเบากว่าเป็นบทลงโทษจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 535/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลักปศุสัตว์: การดูโคให้แทนการมอบหมาย ไม่เป็นความยักยอก ใช้บทลงโทษตามมาตรา 293
โคของผู้เสียหายติดเข้าไปอยู่ในฝูงโคของจำเลย แยกไม่ออก ผู้เสียหายจึงสั่งจำเลยขอให้ดูไว้ด้วย
การพูดเช่นนี้จะถือว่าเป็นการรับมอบหมาย อันจะกลายเป็นผิดฐานยักยอกยังไม่ได้
ที่สุดเมื่อจำเลยกับพวกพาเอาโคของผู้เสียหายไป จึงมีความผิดฐานลักปศุสัตว์ตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 294
แต่เนื่องจากประมวลกฎหมายที่ใช้อยู่บัดนี้ ไม่มีบัญญัติถึงการลักปศุสัตว์และสัตว์พาหนะโดยเฉพาะเช่นในมาตรา 294 (ก.ม.อาญา) จึงต้องใช้มาตรา 293 (ก.ม.อาญา) ซึ่งมีอัตราโทษเบากว่าเป็นบทลงโทษจำเลย.
การพูดเช่นนี้จะถือว่าเป็นการรับมอบหมาย อันจะกลายเป็นผิดฐานยักยอกยังไม่ได้
ที่สุดเมื่อจำเลยกับพวกพาเอาโคของผู้เสียหายไป จึงมีความผิดฐานลักปศุสัตว์ตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 294
แต่เนื่องจากประมวลกฎหมายที่ใช้อยู่บัดนี้ ไม่มีบัญญัติถึงการลักปศุสัตว์และสัตว์พาหนะโดยเฉพาะเช่นในมาตรา 294 (ก.ม.อาญา) จึงต้องใช้มาตรา 293 (ก.ม.อาญา) ซึ่งมีอัตราโทษเบากว่าเป็นบทลงโทษจำเลย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 525/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลักปศุสัตว์และการรับมอบหมายที่ไม่เป็นความผิดยักยอก
โคของผู้เสียหายติดเข้าไปอยู่ในฝูงโคของจำเลย แยกไม่ออก ผู้เสียหายจึงสั่งจำเลยขอให้ดูไว้ด้วย
การพูดเช่นนี้จะถือว่าเป็นการรับมอบหมาย อันจะกลายเป็นผิดฐานยักยอกยังไม่ได้
ที่สุดเมื่อจำเลยกับพวกพาเอาโคของผู้เสียหายไป จึงมีความผิดฐานลักปศุสัตว์ตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 294
แต่เนื่องจากประมวลกฎหมายที่ใช้อยู่บัดนี้ ไม่มีบัญญัติถึงการลักปศุสัตว์และสัตว์พาหนะโดยเฉพาะเช่นในมาตรา 294 (ก.ม.อาญา) จึงต้องใช้มาตรา 293 (ก.ม.อาญา) ซึ่งมีอัตราโทษเบากว่าเป็นบทลงโทษจำเลย.
การพูดเช่นนี้จะถือว่าเป็นการรับมอบหมาย อันจะกลายเป็นผิดฐานยักยอกยังไม่ได้
ที่สุดเมื่อจำเลยกับพวกพาเอาโคของผู้เสียหายไป จึงมีความผิดฐานลักปศุสัตว์ตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 294
แต่เนื่องจากประมวลกฎหมายที่ใช้อยู่บัดนี้ ไม่มีบัญญัติถึงการลักปศุสัตว์และสัตว์พาหนะโดยเฉพาะเช่นในมาตรา 294 (ก.ม.อาญา) จึงต้องใช้มาตรา 293 (ก.ม.อาญา) ซึ่งมีอัตราโทษเบากว่าเป็นบทลงโทษจำเลย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 249/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การช่วยเหลือหลังการลักทรัพย์: ไม่ถือเป็นความร่วมมือในการกระทำผิด
คนร้ายลักโคจูงมาระหว่างทางพบจำเลย ๆ ช่วยคนร้ายไล่ต้อนโคโดยรู้ว่าเป็นโคของผู้อื่นและเมื่อพวกเจ้าทรัพย์มาพบก็วิ่งหนีไปด้วยกัน ยังถือไม่ได้ว่าจำเลยได้สมคบหรือสมรู้กับคนร้ายในการลักทรัพย์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 771/2499 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้ พ.ร.บ.กักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้ายกับผู้กระทำผิดซ้ำ ไม่ขัดต่อกฎหมายอาญาและรัฐธรรมนูญ
พ.ร.บ.กักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย เป็น ก.ม.พิเศษใช้กับผู้กระทำผิดทางอาญาถูกจำคุกหลายครั้งไม่เข็ดหลาบหาขัดกับ ก.ม.อาญา ม.25 ไม่ ศาลย่อมยกขึ้นใช้ปรับบทแก่จำเลยในกรณีเช่นนี้ได้ ทั้งไม่ขัดต่อ ก.ม.รัฐธรรมนูญแต่อย่างใด.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1351/2498 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดพยายามลักทรัพย์เป็นเหตุร้ายตาม พ.ร.บ.กักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย
การกระทำผิดตาม ก.ม.อาญา ม. 293 นั้นไม่ว่าจะเป็นความผิดสำเร็จหรือเพียงแต่พยายามกระทำก็นับได้ว่าเป็น "เหตุร้าย " ตาม พ.ร.บ. กักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย พ.ศ. 2479 ม.4 แล้วทั้งนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1247/2498 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มลดโทษที่กึ่งหนึ่งเท่ากัน ศาลต้องหักกลบลบกันตาม ม.39 และการเพิ่มโทษซ้ำซ้อน
เมื่อโทษที่จะเพิ่มและจะลดมีกำหนด (กึ่งหนึ่ง ) เท่ากัน ศาลต้องให้หักกลบลบกันไม่ต้องเพิ่มไม่ต้องลด
แม้ ม. 293 จะกำหนดโทษจำคุกอย่างสูงไว้ไม่เกิน 5 ปี แต่เมื่อมีการเพิ่มโทษ ผู้นั้นก็ยังต้องถูกเพิ่มโทษอีกโสดหนึ่งด้วย
แม้ ม. 293 จะกำหนดโทษจำคุกอย่างสูงไว้ไม่เกิน 5 ปี แต่เมื่อมีการเพิ่มโทษ ผู้นั้นก็ยังต้องถูกเพิ่มโทษอีกโสดหนึ่งด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1199/2498 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกักกันผู้กระทำผิดซ้ำ: การตีความ 'ไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง' ตาม พ.ร.บ.กักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย
ถ้าผู้ใดเคยได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาให้จำคุกมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง ตามความในพ.ร.บ.กักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย พ.ศ. 2479 ม.8 นั้นหมายความว่าถ้าผู้ใดได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษามาแล้วตั้งแต่ 2 ครั้งหรือกว่า 2 ครั้งขึ้นไป ก็เรียกว่าไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง
จำเลยได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาฐานลักทรัพย์มาแล้ว 2 ครั้ง เมื่อมาต้องคำพิพากษาจำคุกฐานลักทรัพย์อันเป็นเหตุร้ายคดีนี้ขึ้นอีก กรณีจึงเข้าเกณฑ์ความผิดตาม พ.ร.บ. กักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย พ.ศ. 2479 ม.8ด้วย (ฎีกาที่ 714/24+)
จำเลยได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาฐานลักทรัพย์มาแล้ว 2 ครั้ง เมื่อมาต้องคำพิพากษาจำคุกฐานลักทรัพย์อันเป็นเหตุร้ายคดีนี้ขึ้นอีก กรณีจึงเข้าเกณฑ์ความผิดตาม พ.ร.บ. กักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย พ.ศ. 2479 ม.8ด้วย (ฎีกาที่ 714/24+)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1654/2497 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับปลาในลำเหมืองสาธารณะ: ไม่ถือว่าเป็นการลักทรัพย์หากปลาไม่ได้มาจากการเพาะเลี้ยง
จำเลยเอาแหทอดปลาในหนองน้ำซึ่งเป็นสำเหมืองเอกชนสำหรับถ่ายน้ำสู่แม่น้ำ แม้จะมีผู้เอาเผือกมากั้นไว้ด้านหนึ่งก็ตาม จำเลยก็ย่อมไม่มีผิดฐานลักทรัพย์ เพราะปลาในเหมืองมาจากทุ่งนาและแม่น้ำทั่วไป หาใช่เจ้าของนำมาเพาะเลี้ยงไม่ ปลา+ณ ที่อื่นได้ ผู้เช่ามิได้ยึดถือ+
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 724/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษกักกันผู้กระทำผิดซ้ำฐานลักทรัพย์ แม้ระยะเวลาพ้นโทษก่อนหน้าเกิน 5 ปี ศาลมีอำนาจพิจารณาจากพฤติการณ์
จำเลยต้องโทษฐานลักทรัพย์มาแล้ว 2 ครั้งตาม ม. 294 และ ม. 293 แม้ครั้งหลังจะเนิ่นนานเกิน 5 ปี จึงมาทำผิดฐานลักทรัพย์ตาม ม. 294 ในคดีนี้ ศาลก็ถือว่าจำเลยมีสันดานเป็นผู้ร้าย และลงโทษกักกันจำเลย
ศาลชั้นต้นจำคุก 1 ปี ไม่ลงโทษกักกัน ศาลอุทธรณืแก้เฉพาะให้ส่งไปกักกันมีกำหนด 3 ปี จำเลยฎีกาในข้อเท็จจริงในเรื่องกักกันได้
ศาลชั้นต้นจำคุก 1 ปี ไม่ลงโทษกักกัน ศาลอุทธรณืแก้เฉพาะให้ส่งไปกักกันมีกำหนด 3 ปี จำเลยฎีกาในข้อเท็จจริงในเรื่องกักกันได้