พบผลลัพธ์ทั้งหมด 83 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1626/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณา 'เคหะ' ตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ต้องดูเจตนาคู่สัญญาและเหตุแวดล้อมอื่นประกอบ ผู้เช่ามีหน้าที่นำสืบ
การพิจารณาว่าสิ่งปลูกสร้างใดเป็นเคหะตามความหมายแห่ง พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯหรือไม่นั้นจะดูแต่เพียงผู้เช่าอาศัยอยู่ในสิ่งปลูกสร้างนั้นหรือไม่แต่อย่างเดียวยังหาเพียงพอกับความประสงค์ของกฎหมายไม่ แต่จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีในเวลาทำสัญญากัน ประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่น ๆ เช่นสภาพของสิ่งปลูกสร้าง อัตราค่าเช่า ทำเลที่ตั้งสิ่งปลูกสร้างและการปฏิบัติของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายประกอบกันว่า การเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้น เพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือไม่
(อ้างฎีกาที่ 1099-1147/2491)
การเช่าจะอยู่ในความคุ้มครองตามพ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าหรือไม่นั้น เป็นหน้าที่ของผู้เช่าจะต้องนำสืบแสดงเมื่อตามฟ้องคำให้การและคำแถลงรับรองของคู่ความไม่เพียงพอที่จะชี้ว่าทรัพย์รายนี้เป็นเคหะตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าเมื่อผู้เช่าไม่ติดใจสืบพะยาน ผู้เช่าก็ต้องแพ้คดี
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายในคดีฟ้องขับไล่จำเลยออกจากห้องเช่า โดยเรียกค่าเสียหายเป็นรายเดือน ๆ ละ 100 บาท คดีได้ความว่าจำเลยเช่าตึกรายนี้มีค่าเช่าเดือนละ 80 บาท ฉะนั้นเมื่อโจทก์บอกเลิกสัญญาเช่าต่อจำเลยโดยชอบแล้วจำเลยไม่ยอมออกไป โจทก์ย่อมต้องเสียหาย ศาลก็เห็นสมควรกำหนดค่าเสียหายให้เดือนละ 80 บาทได้
(อ้างฎีกาที่ 1099-1147/2491)
การเช่าจะอยู่ในความคุ้มครองตามพ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าหรือไม่นั้น เป็นหน้าที่ของผู้เช่าจะต้องนำสืบแสดงเมื่อตามฟ้องคำให้การและคำแถลงรับรองของคู่ความไม่เพียงพอที่จะชี้ว่าทรัพย์รายนี้เป็นเคหะตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าเมื่อผู้เช่าไม่ติดใจสืบพะยาน ผู้เช่าก็ต้องแพ้คดี
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายในคดีฟ้องขับไล่จำเลยออกจากห้องเช่า โดยเรียกค่าเสียหายเป็นรายเดือน ๆ ละ 100 บาท คดีได้ความว่าจำเลยเช่าตึกรายนี้มีค่าเช่าเดือนละ 80 บาท ฉะนั้นเมื่อโจทก์บอกเลิกสัญญาเช่าต่อจำเลยโดยชอบแล้วจำเลยไม่ยอมออกไป โจทก์ย่อมต้องเสียหาย ศาลก็เห็นสมควรกำหนดค่าเสียหายให้เดือนละ 80 บาทได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1626/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณา 'เคหะ' ตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ต้องดูเจตนาคู่สัญญาและเหตุแวดล้อมอื่นประกอบ ผู้เช่าต้องนำสืบ
การพิจารณาว่าสิ่งปลูกสร้างใดเป็นเคหะตามความหมายแห่งพ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ หรือไม่นั้นจะดูแต่เพียงผู้เช่าอาศัยอยู่ในสิ่งปลูกสร้างนั้นหรือไม่แต่อย่างเดียวยังหาเพียงพอกับความประสงค์ของกฎหมายไม่ แต่จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีในเวลาทำสัญญากัน ประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่นๆเช่นสภาพของสิ่งปลูกสร้าง อัตราค่าเช่า ทำเลที่ตั้งสิ่งปลูกสร้างและการปฏิบัติของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายประกอบกันว่า การเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้น เพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือไม่(อ้างฎีกาที่ 1099-1147/2491)
การเช่าจะอยู่ในความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าหรือไม่นั้น เป็นหน้าที่ของผู้เช่าจะต้องนำสืบแสดงเมื่อตามฟ้องคำให้การและคำแถลงรับของคู่ความไม่เพียงพอที่จะชี้ว่าทรัพย์รายนี้เป็นเคหะตามพ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าเมื่อผู้เช่าไม่ติดใจสืบพยาน ผู้เช่าก็ต้องแพ้คดี
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายในคดีฟ้องขับไล่จำเลยออกจากห้องเช่า โดยเรียกค่าเสียหายเป็นรายเดือนๆ ละ 100 บาทคดีได้ความว่าจำเลยเช่าตึกรายนี้จำเลยมีค่าเช่าเดือนละ 80 บาท ฉะนั้นเมื่อโจทก์บอกเลิกสัญญาเช่าต่อจำเลยโดยชอบแล้วจำเลยไม่ยอมออกไป โจทก์ย่อมต้องเสียหาย ศาลก็เห็นสมควรกำหนดค่าเสียหายให้เดือนละ 80 บาทได้
การเช่าจะอยู่ในความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าหรือไม่นั้น เป็นหน้าที่ของผู้เช่าจะต้องนำสืบแสดงเมื่อตามฟ้องคำให้การและคำแถลงรับของคู่ความไม่เพียงพอที่จะชี้ว่าทรัพย์รายนี้เป็นเคหะตามพ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าเมื่อผู้เช่าไม่ติดใจสืบพยาน ผู้เช่าก็ต้องแพ้คดี
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายในคดีฟ้องขับไล่จำเลยออกจากห้องเช่า โดยเรียกค่าเสียหายเป็นรายเดือนๆ ละ 100 บาทคดีได้ความว่าจำเลยเช่าตึกรายนี้จำเลยมีค่าเช่าเดือนละ 80 บาท ฉะนั้นเมื่อโจทก์บอกเลิกสัญญาเช่าต่อจำเลยโดยชอบแล้วจำเลยไม่ยอมออกไป โจทก์ย่อมต้องเสียหาย ศาลก็เห็นสมควรกำหนดค่าเสียหายให้เดือนละ 80 บาทได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 150/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณา 'เคหะ' ตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ ต้องดูเจตนาคู่สัญญาและลักษณะการใช้ประโยชน์
โจทก์บอกกล่าวเลิกสัญญาเช่ากับจำเลยในระหว่างใช้พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่า ฯ 2489 และโจทก์มาฟ้องคดีก่อนใช้ พ.ร.บ. ควบคุมค่าเช่า ฯ 2490 คดีจึงตกอยู่ในบังคับมาตรา 4 แห่ง พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯ 2490 ต้องใช้ พ.ร.บ.ฉะบับนี้บังคับ
การที่จะวินิจฉัยว่าเป็น "เคหะ" ตามความหมายใน พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯ 2490 หรือไม่นั้น จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีเวลาทำสัญญากัน ประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่น ๆ รวมกันว่าการเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้น เพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือมิใช่ การที่ผู้เช่าอยู่ในที่เช่าจะต้องพิจารณาด้วยว่า การอยู่-อยู่ในฐานะอย่างใด
(อ้างฎีกา 1099/2491, 1147/2491)
กับมีคดีและข้อวินิจฉัยอย่างเดียวกัน คือ
คดีดำที่ 665/91 ฎีกาที่ /92
คดีดำที่ 666/91 ฎีกาที่ /92
คดีดำที่ 668/91 ฎีกาที่ /92
การที่จะวินิจฉัยว่าเป็น "เคหะ" ตามความหมายใน พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯ 2490 หรือไม่นั้น จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีเวลาทำสัญญากัน ประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่น ๆ รวมกันว่าการเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้น เพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือมิใช่ การที่ผู้เช่าอยู่ในที่เช่าจะต้องพิจารณาด้วยว่า การอยู่-อยู่ในฐานะอย่างใด
(อ้างฎีกา 1099/2491, 1147/2491)
กับมีคดีและข้อวินิจฉัยอย่างเดียวกัน คือ
คดีดำที่ 665/91 ฎีกาที่ /92
คดีดำที่ 666/91 ฎีกาที่ /92
คดีดำที่ 668/91 ฎีกาที่ /92
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 150/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับใช้ พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า พิจารณาเจตนาใช้สิทธิในสัญญาเช่าเพื่อพิจารณาว่าเป็น 'เคหะ' หรือไม่
โจทก์บอกกล่าวเลิกสัญญาเช่ากับจำเลยในระหว่างใช้พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ 2489 และโจทก์มาฟ้องคดีก่อนใช้ พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ 2490 คดีจึงตกอยู่ในบังคับมาตรา 4 แห่ง พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ 2490 ต้องใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้บังคับ
การที่จะวินิจฉัยว่าเป็น'เคหะ'ตามความหมายใน พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ 2490 หรือไม่นั้น จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีในเวลาทำสัญญากัน ประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่นๆ รวมกันว่า การเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้น เพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือมิใช่ การที่ผู้เช่าอยู่ในที่เช่าจะต้องพิจารณาด้วยว่า การอยู่อยู่ในฐานะอย่างใด (อ้างฎีกาที่ 1099,1147/2491)
การที่จะวินิจฉัยว่าเป็น'เคหะ'ตามความหมายใน พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ 2490 หรือไม่นั้น จะต้องพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีในเวลาทำสัญญากัน ประกอบกับเหตุผลแวดล้อมอื่นๆ รวมกันว่า การเช่าสิ่งปลูกสร้างนั้น เพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยหรือมิใช่ การที่ผู้เช่าอยู่ในที่เช่าจะต้องพิจารณาด้วยว่า การอยู่อยู่ในฐานะอย่างใด (อ้างฎีกาที่ 1099,1147/2491)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 591/2491 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำว่า 'เคหะ' ตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า: สิ่งปลูกสร้างใช้ประกอบธุรกิจค้า/อุตสาหกรรม แม้มีที่อยู่อาศัยด้วย ก็ไม่ถือเป็นเคหะ
"เคหะ" ตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขัน พ.ศ. 2489 มาตรา 5 นั้น มีความหมายในเบื้องต้นว่า ต้องเป็นสิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัย
สิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัย ถึงประกอบธุระกิจการค้าหรืออุตสาหกรรมด้วย ก็ยังนับว่าเป็น "เคหะ" แต่ถ้าสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประกอบธุระกิจการค้าหรืออุตสาหกรรม ซึ่งไม่อยู่ในความหมายของคำว่า "เคหะ" แล้ว แม้จะใช้เป็นที่อยู่อาศัยด้วย ก็ไม่กลับกลายเป็นเคหะขึ้นมาได้
โจทก์เช่าโรงเลื่อยเพื่อเลื่อยไม้จำหน่าย นับว่าเช่าสิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นที่ประกอบธุระกิจการค้า หรืออุตสาหกรรมโดยตรง ไม่ต้องด้วยลักษณะของคำว่า "เคหะ" ตามความใน พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าปี 2489.
สิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัย ถึงประกอบธุระกิจการค้าหรืออุตสาหกรรมด้วย ก็ยังนับว่าเป็น "เคหะ" แต่ถ้าสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประกอบธุระกิจการค้าหรืออุตสาหกรรม ซึ่งไม่อยู่ในความหมายของคำว่า "เคหะ" แล้ว แม้จะใช้เป็นที่อยู่อาศัยด้วย ก็ไม่กลับกลายเป็นเคหะขึ้นมาได้
โจทก์เช่าโรงเลื่อยเพื่อเลื่อยไม้จำหน่าย นับว่าเช่าสิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นที่ประกอบธุระกิจการค้า หรืออุตสาหกรรมโดยตรง ไม่ต้องด้วยลักษณะของคำว่า "เคหะ" ตามความใน พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าปี 2489.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 591/2491
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิยาม 'เคหะ' ใน พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า: สิ่งปลูกสร้างใช้ประกอบธุรกิจ ไม่ถือเป็นเคหะ แม้มีส่วนที่อยู่อาศัย
'เคหะ' ตามพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขัน พ.ศ.2489มาตรา 5 นั้น มีความหมายในเบื้องต้นว่า ต้องเป็นสิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัย
สิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัย ถึงประกอบธุรกิจการค้าหรืออุตสาหกรรมด้วย ก็ยังนับว่าเป็น'เคหะ' แต่ถ้าสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประกอบธุรกิจการค้าหรืออุตสาหกรรมซึ่งไม่อยู่ในความหมายของคำว่า 'เคหะ' แล้ว แม้จะใช้เป็นที่อยู่อาศัยด้วย ก็ไม่กลับกลายเป็นเคหะขึ้นมาได้
โจทก์เช่าโรงเลื่อยเพื่อเลื่อยไม้จำหน่าย นับว่าเช่าสิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นที่ประกอบธุรกิจการค้าหรืออุตสาหกรรมโดยตรง ไม่ต้องด้วยลักษณะของคำว่า'เคหะ' ตามความในพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าปี 2489
สิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัย ถึงประกอบธุรกิจการค้าหรืออุตสาหกรรมด้วย ก็ยังนับว่าเป็น'เคหะ' แต่ถ้าสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประกอบธุรกิจการค้าหรืออุตสาหกรรมซึ่งไม่อยู่ในความหมายของคำว่า 'เคหะ' แล้ว แม้จะใช้เป็นที่อยู่อาศัยด้วย ก็ไม่กลับกลายเป็นเคหะขึ้นมาได้
โจทก์เช่าโรงเลื่อยเพื่อเลื่อยไม้จำหน่าย นับว่าเช่าสิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นที่ประกอบธุรกิจการค้าหรืออุตสาหกรรมโดยตรง ไม่ต้องด้วยลักษณะของคำว่า'เคหะ' ตามความในพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าปี 2489
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 178/2491 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สถานที่เช่าใช้เป็นสำนักงานและที่อยู่อาศัยเข้าข่ายเคหะตาม พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า
บริษัทจำกัดเช่าสถานที่เป็นสาขาสำนักงานของบริษัท แลสำหรับเสมียนพนักงานของบริษัทอยู่อาศัย เวลาเช่ากันนั้นรู้กันอยู่ว่า จะใช้เป็นที่อาศัย ดังนี้ สถานที่เช่านั้นย่อมเป็นเคหะตามความใน พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า ฯลฯ 2489
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 178/2491
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าพื้นที่เพื่อใช้เป็นสำนักงานและที่อยู่อาศัยของพนักงาน ถือเป็นเคหะภายใต้ พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่า
บริษัทจำกัดเช่าสถานที่เป็นสาขาสำนักงานของบริษัทและสำหรับเสมียนพนักงานของบริษัทอยู่อาศัย เวลาเช่ากันนั้นรู้กันอยู่ว่าจะใช้เป็นที่อาศัยดังนี้สถานที่เช่านั้นย่อมเป็นเคหะตามความใน พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯลฯ 2489
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1056/2491
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าสิ้นสุดก่อนกฎหมายควบคุมค่าเช่าใช้บังคับ การอยู่ต่อถือเป็นการละเมิด และการพิจารณาความเป็นเคหะเดียวกันเพื่อบังคับใช้กฎหมาย
เมื่อสัญญาเช่าสิ้นสุดลงก่อนใช้ พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯพ.ศ.2489 และ 2490 แล้ว การที่อยู่ต่อมาย่อมเป็นการอยู่โดยละเมิดจะอ้าง พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯทั้ง 2 ฉบับมาคุ้มครอง หาได้ไม่
ตึก 2 เลขที่ซึ่งอยู่ติดต่อกันแต่ฟ้องของโจทก์และสัญญาท้ายฟ้องซึ่งระบุสิ่งของซึ่งมีอยู่ในตึกรายนี้แยกเป็นคนละตึก แสดงว่าตึก 2 เลขหมายเป็นเคหะไม่มีข้อความใดๆ ที่แสดงว่าเป็นเคหะเดียวกันแม้ตึกรายนี้ติดต่อกัน ทำสัญญาฉบับเดียวกัน และกำหนดค่าเช่ารวมกัน ก็มิใช่แสดงว่าตึกที่เช่าเป็นเคหะเดียวกันเสมอไป เมื่อโจทก์แสดงไม่ได้ว่าตึกที่เช่าเป็นเคหะเดียว และมีค่าเช่าเกิน 40 บาทแล้ว ก็ต้องตกอยู่ในความคุ้มครองแห่ง พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ 2486 มาตรา 5
ตึก 2 เลขที่ซึ่งอยู่ติดต่อกันแต่ฟ้องของโจทก์และสัญญาท้ายฟ้องซึ่งระบุสิ่งของซึ่งมีอยู่ในตึกรายนี้แยกเป็นคนละตึก แสดงว่าตึก 2 เลขหมายเป็นเคหะไม่มีข้อความใดๆ ที่แสดงว่าเป็นเคหะเดียวกันแม้ตึกรายนี้ติดต่อกัน ทำสัญญาฉบับเดียวกัน และกำหนดค่าเช่ารวมกัน ก็มิใช่แสดงว่าตึกที่เช่าเป็นเคหะเดียวกันเสมอไป เมื่อโจทก์แสดงไม่ได้ว่าตึกที่เช่าเป็นเคหะเดียว และมีค่าเช่าเกิน 40 บาทแล้ว ก็ต้องตกอยู่ในความคุ้มครองแห่ง พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ 2486 มาตรา 5
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 947/2490
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เคหะควบคุมค่าเช่า: สัญญาเช่าระงับหากใช้ไม่เป็นที่อยู่อาศัย และบอกเลิกถูกต้องตามกฎหมาย
การเช่าเคหะอันอยู่ในบังคับแห่งพ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขัน พ.ศ.2486 นั้น ถ้ามิได้ใช้อยู่อาศัยเป็นส่วนใหญ่แล้ว ย่อมไม่ใช่เคหะตามความหมายแห่งพ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขัน (ฉบับที่ 2)2488ผู้ให้เช่าย่อมมีสิทธิบอกเลิกสัญญาเช่าภายในบังคับแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในระหว่างเวลาที่ใช้พ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าในภาวะคับขัน (ฉบับที่ 2)2488 ได้
ในคดีที่คู่ความฎีกาในข้อกฎหมายถ้าศาลฎีกาเห็นว่าศาลล่างทั้งสองยังมิได้พิจารณาวินิจฉัยข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญในประเด็น ก็มีอำนาจให้ศาลชั้นต้นพิจารณาข้อเท็จจริงแล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดีได้
ในคดีที่คู่ความฎีกาในข้อกฎหมายถ้าศาลฎีกาเห็นว่าศาลล่างทั้งสองยังมิได้พิจารณาวินิจฉัยข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญในประเด็น ก็มีอำนาจให้ศาลชั้นต้นพิจารณาข้อเท็จจริงแล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดีได้